การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการปฏิบัติธรรมกรรมฐานด้วยการเรียนรู้ แบบสะท้อนคิด สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

  • พระครูวิกรมธรรมธัช , มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พระครูชัยรัตนากร . มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

          บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการปฏิบัติธรรม กรรมฐานด้วยการเรียนรู้แบบสะท้อนคิด สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 139 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเกตและแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


           ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐานด้วยการเรียนรู้แบบสะท้อนคิด สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ 5 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2)ด้านความรู้ 3)ด้านทักษะทางปัญญา 4)ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ 5)ด้านทักษะการวิเคราะห์ จำแนกผลการศึกษาออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้สอน ด้านนักศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ และ         ด้านการวัดและประเมินผล หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

จินตนา ยูนิพันธุ์. (2550). จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพพยาบาล เอกสารการสอนชุดวิชาหน่วยที่ 1-8 ประสบการณ์วิชาชีพการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปิยาณี ณ นคร และคณะ. (2559). การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดเพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณในนักศึกษาพยาบาล. Rama NursJ. 22(2). 206-221.

ศิราณี เก็จกรแก้ว. (2552). การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติโดยวิธีการส่งเสริมการสะท้อนคิด. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 3(3). 10-17.

อัศนี วันชัย และคณะ. (2560). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสะท้อนคิดในการศึกษาพยาบาล. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 11(2). 105-115.

Boud D, Keogh R, Walker D. (2005). What is reflection in learning? In: Boud D, Keogh R, Walker D, Editors. Reflection : Turning experience into learning. Oxford : Routledge.

Chaffey LJ, de Leeuw EJ, Finnigan GA. (2012). Facilitating students' reflective practice in a medical course : Literature review. Educ Health (Abingdon). 25(3). 198-203.

Dewey J. (1933). How we think: A restatement of the relation of reflective thinking to the educative process. Boston, NY : D.C. Health and Company.

Finlay L. (2008). Reflecting on “reflective practice' (Internet). Boston, NY : D.C. Health and Company.

Gibbs G. (2005). Learning by doing: A guide to teaching learning methods. London : FEU.

Karimi S. et al. (2017). A qualitative inquiry into nursing students' experience of facilitating reflection in clinical setting. Oxford : Routledge.

Larsen et al. (2016). Using reflection to influence practice: Student perceptions of daily reflection in clinical education. Perspect Med Educ. 5(5). 285-291.

Lutz et al. (2016). Reflective practice and its role in facilitating creative responses to dilemmas within clinical communication–a qualitative analysis. BMCMed Educ. 16(1). 301-314.

Sherwood. (2014). Reflective practice: Transforming education and improving outcomes. Indianapolis : Sigma Theta Tau International.

Wichainate K. (2014). Reflective thinking: Teaching students to develop critical thinking in nursing practice. Journal of The Police Nurse. 6(2). 187-99.
Published
2020-06-30
How to Cite
,, พระครูวิกรมธรรมธัช; ., พระครูชัยรัตนากร. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการปฏิบัติธรรมกรรมฐานด้วยการเรียนรู้ แบบสะท้อนคิด สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 4, n. 1, p. 55-63, june 2020. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/830>. Date accessed: 24 nov. 2024.
Section
Research Article