ภาวะผู้นำท้องถิ่นและการตัดสินใจที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการคลังท้องถิ่น

The Effecting of Local Leadership and Decision Making on Local Financial Effectiveness

  • พิมพ์นภัส ภัทรก่อพงศ์สุข มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น
  • ธรรมนิตย์ วราภรณ์ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น
  • รพีพร ธงทอง มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

Abstract

            บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสำรวจและศึกษาระดับองค์ประกอบภาวะผู้นำภาคพลเมือง การตัดสินใจและผลการปฏิบัติงานของคลังท้องถิ่น 2)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำภาคพลเมืองการตัดสินใจและผลการปฏิบัติงานของคลังท้องถิ่น 3)เพื่ออธิบายและพยากรณ์ภาวะผู้นำการตัดสินใจและผลการปฏิบัติงานของคลังท้องถิ่น และ 4)เพื่อเสนอแนะแนวทางให้ผู้บริหารหรือนายกเทศมนตรีที่เป็นผู้นำภาคพลเมืองนำวิธีตัดสินใจที่ถูกต้องไปใช้ประโยชน์ต่อผลการปฏิบัติงานด้านการคลัง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร กลุ่มผู้บริหาร และพนักงานองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ จำนวน 442 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ


           ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำท้องถิ่น การตัดสินใจ และประสิทธิผลการคลัง โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวม โดยค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ผลการปฏิบัติงานคลังท้องถิ่น รองลงมาคือ การตัดสินใจ และน้อยที่สุด คือ ภาวะผู้นำพลเมือง 2. ภาวะผู้นำท้องถิ่น การตัดสินใจ และประสิทธิผลการคลังท้องถิ่น มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ระดับปานกลาง ถึงมาก โดยมีค่า r ระหว่าง .683-.727 3.   อิทธิพลต่อประสิทธิผลการคลังท้องถิ่นนั้น ประกอบด้วยภาวะผู้นำทางการเมือง ภาวะผู้นำบริหารจัดการ และการตัดสินใจแบบพฤติกรรม และอำนวยการ ทั้งนี้มีผลทดสอบ F เท่ากับ 127.97 (Sig. 000) ส่วนคะแนนมาตรฐาน หรือสัมประสิทธิ์พยากรณ์ของแต่ละตัวแปรนั้นประกอบด้วย .31, .23, .15, และ .04 นอกจากนี้แล้ว ตัวแปรทั้งหมดมีอำนาจพยากรณ์อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่า R2 = .59 หากแต่มีระดับความคลาดเคลื่อน .39 หรือมีความมีน่าเชื่อถือของการพยากรณ์เท่ากับ .61 หรือมีอำนาจพยากรณ์อยู่ในระดับปานกลาง 4. ผู้นำและกลุ่มผู้นำองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถนำตัวแปรทั้งหมดไปใช้เป็นหัวข้อในการกำหนดนโยบาย แผนงาน และกระบวนการจัดสรรทรัพยากร เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ หากแต่ต้องเน้น การตัดสินใจที่ถูกต้อง สะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยังเป็นการตัดสินใจที่ตั้งอยู่บนความต้องการของส่วนร่วม โดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกด้าน

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2563). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร และศรีสะเกษ. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2563. จาก https: www.dla.go.th

จงศักดิ์ จงรัก. (2553). ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ณรงค์ฤทธิ์ ทายะ. (2556). ภาวะผู้นำที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน: กรณีศึกษาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน กลุ่ม 1. วารสารพิฆเนศวร์สาร. 9(1). 83-95.

พรชัย ลิขิตธรรมโรจน์. (2550). การคลังรัฐบาลและการคลังท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์.

เพ็ญพิมล หกสุวรรณ. (2559). ศักยภาพของการคลังท้องถิ่น: กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ. คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Ahmed, A., Hasnain, N. & Venkatesan, M. (2012). Decision making in relation to personality types and cognitive styles of business students. The IUP Journal of Management Research. 11(2). 20-29.

Ascencio, H., & Mujkic, E. (2016). Leadership behaviors and trust in leaders: Evidence from the U.S. federal government. Public Administration Quarterly. 40(1). 156-179.

Benington, J. (2015). Public value as a contested democratic practice, in Bryson, J., Crosby, B. and Bloomberg, l. (Eds.). Creating Public Value in Practice, Taylor and Francis, Boca Raton. FL. 29-47.

Brookes, S. & Grint, K. (2010). The new public leadership challenge. Basingstoke : Palgrave Macmillan.

Bryson, J., Crosby, B. & Bloomberg, L. (2014). Public value governance: moving beyond traditional public administration and the new public management. Public Administration Review. 74(4). 445-456.

Gliem, J.A., & Gliem, R.R. (2003). Calculating, interpreting, and reporting Cronbach's alpha reliability coefficient for Likert-type scale. Midwest Research-to-Practice Conference in adult continue and community education. 2003. 82-88.

Hambleton, R., Howard, J. Michael, B. & Taylor, M. (2009). International insights on civic leadership and public service innovation. Local Authority Research Council Initiative, University of the West of England, Bristol.

Hartley, J. (2018). Ten propositions about public leadership. International Journal of Public Leadership. 14(4). 202-217.

Heifetz, R.A., Grashow, A. & Linsky, M. (2009). The practice of adaptive leadership: Tools and tactics for changing your organization and the world. Boston, MA : Harvard Business Press.

Hutchison, J., Walker, E., & McKenzie, F.H. (2014). Leadership in local government: No girls allowed. Australian Journal of Public Administration. 73(2). 181-191.

Kniffin, L.E. & Patterson, R.M. (2019). Re-imagining community leadership development in the post-Industrial Era. Journal of Leadership Education. 18(4). 188-205.

Lee, D.K., In, J., & Lee, S. (2015). Standard deviation and standard error of the mean. Korea Journal of the anesthesiology. 68(3). 220-223.

Ospina, S. (2017). Collective leadership and connect in public administration: Bridging public leadership studies. Public Administration Review. 77(2). 275-287.

Ospina, S.M. & Foldy, E.G. (2016). Collective dimensions of leadership. In A. Farazmand (Ed.), Global encyclopedia of public administration, public policy, and government. Cham, Switzerland : Springer.

Shalom, D. (2015). Local leadership and decision-making. Boston, MA : Harvard Business Press.

Sing, M. (2014). Sampling technique & determination of sample size in applied statistics research: an Overview. International Journal of Economics, Commerce and Management. 11(11). 1-22.
Published
2022-01-15
How to Cite
ภัทรก่อพงศ์สุข, พิมพ์นภัส; วราภรณ์, ธรรมนิตย์; ธงทอง, รพีพร. ภาวะผู้นำท้องถิ่นและการตัดสินใจที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการคลังท้องถิ่น. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 1, p. 65-79, jan. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1815>. Date accessed: 14 may 2024.
Section
Research Article