กรอบมโนทัศน์เบื้องต้นของหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สำหรับอาจารย์สอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนนายเรือและสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอื่น

The Fundamental Concept Framework of Curriculum and Learning Management for English Instructors of RTNA and the Other Higher Education Institutes

  • ชัยวัฒน์ บวรวัฒนเศรษฐ์ กองวิชามนุษยศาสตร์ ฝ่ายศึกษา โรงเรียนนายเรือ

Abstract

บทคัดย่อ


ในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรนั้น นอกจากอาจารย์ผู้สอนจะต้องมีความรู้ในเนื้อหาสาระของวิชาภาษาอังกฤษแล้ว อาจารย์ผู้สอนยังต้องมีความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษด้วยเช่นกัน บทความทางวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรูปแบบหรือแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สำหรับอาจารย์สอนวิชาภาษาอังกฤษของโรงเรียนนายเรือ อาจารย์สอนภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาในสถาบันอื่น ๆ หรือบุคคลทั่วไปที่สามารถจะนำไปใช้เป็นกรอบแนวคิดให้เห็นภาพกว้างและรายละเอียดในการวางแผนออกแบบเพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการสอนภาษาอังกฤษในชั้นเรียนของตนเองได้อย่างถูกทิศทางและมีประสิทธิภาพ โดยมีประเด็นที่ผู้สอนจะต้องพิจารณา ประกอบด้วย 1) องค์ประกอบและการพัฒนาหลักสูตร 2) การกำหนดจุดมุ่งหมายของรายวิชา 3) การเขียนคำอธิบายรายวิชา 4) การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 5) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 6) การใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ 8) การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับผู้เรียน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แนวการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกริก ท่วมกลาง. (2549). การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพ :สถาพรบุ๊คส์

กุสุมา ล่านุ้ย. (2538). การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระดับมัธยมศึกษา. โรงเรียนสาธิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

กองทัพเรือ. (2563). นโยบายของผู้บัญชาการทหารเรือ ประจำปีงบประมาณ 2563. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2563 จาก nmd.go.th/website/Documents/policy_navy63/combined62.pdf.

ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อสีนเพรส.

เตือนใจ เกตุษา. (2536). การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มร.

ธํารง บัวศรี. (2532). ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.

นุชวนา เหลืองอังกูร. (2538). การวัดพัฒนาการทางภาษา. วารสารการวัดผลทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พรสวรรค์ สีป้อ. (2550). สุดยอดวิธีสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

โรงเรียนนายเรือ. (2563). หลักสูตรโรงเรียนนายเรือ (หลักสูตรปรับปรุง) พ.ศ.2563. (อัดสำเนา)

ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน. (2553). หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : มร.

วิรัตน์ บัวขาว. (2543). จัดการเรียนการสอนอย่างไรให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข. วารสารประชากรศึกษา, 52(1), 24-34.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). มองสถิติและตัวชี้วัดทางการศึกษา, สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563, จาก http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1308-file.pdf.

สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2558). ภาษาอังกฤษของคนไทยอยู่ตรงไหนในอาเซียน, สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563 จาก http: //library.stou.ac.th/blog

สํานักส่งเสริมวชาการและงานทะเบียนมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. (2550). ระบบและกลไกลการพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลยราชภัฏธนบุรี. จากhttp://reg.dru.ac.th/registrar.pdf สืบค้นเมื่อ1 กุมภาพันธ์ 2563

อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด. (2546). คู่มือพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนร้ภูาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บุ๊คพอยท์.

Ek Van J.A., (1976). The Threshold Level for Modern Language Learning in Schools. Strasbourg: Council of Europe.

Taba, H., (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World.
Published
2020-06-30
How to Cite
บวรวัฒนเศรษฐ์, ชัยวัฒน์. กรอบมโนทัศน์เบื้องต้นของหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สำหรับอาจารย์สอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนนายเรือและสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาอื่น. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 75-90, june 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/544>. Date accessed: 28 jan. 2025.