หมอภาษากับการพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Language Clinic Project with the Development of Thai Pronunciation of Kalasin Buddhist College Students Mahamakut Buddhist University

  • พระครูปริยัติกิตติวิมล (บุญชู สุดโสม) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พระณฐกร ปฏิภาณเมธี(ไชยบุตร) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา
  • พรทิพย์ ซังธาดา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • อรรถ เทียบปัด วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ทองคำ เกษจันทร์ วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ประจง ประสารฉ่ำ วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • สุแทน โคตรภูเวียง วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • กิตติคุณ ภูลายยาว มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

Abstract

บทคัดย่อ


           หมอภาษากับการพัฒนาการออกเสียงภาษาไทย  มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกการอ่านออกเสียง  หาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกหมอภาษา  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านออกเสียงก่อนและหลังการฝึกออกเสียง  และเพื่อหาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหมอภาษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่  2  สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ปีการศึกษา 2560 จำนวน 33 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง  เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบฝึกการอ่านออกเสียง แบบประเมินการอ่านออกเสียงและแบบสอบถามความพึงพอใจ สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติพื้นฐานและค่า  t – test


           ผลการวิจัย  พบว่า 


 แบบฝึกการอ่านออกเสียงโครงการหมอภาษา มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.37/81.62  เป็นไปตามเกณฑ์  80/80 ที่ตั้งไว้ ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกมีค่าเท่ากับ 0.4680 หรือร้อยละ  46.80  ผลประเมินการอ่านออกเสียงก่อนและหลังฝึกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการหมอภาษา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด


Abstract


                    The Language Clinic Project with the Development of Thai Pronunciation of Kalasin Buddhist College Students was aimed to 1) find the effectiveness and index of Thai Pronunciation Drill, 2) compare the achievement before and after pronunciation practice, and 3) also to find students’ satisfaction in attending the language Clinic’s program.  The Data collection was determined  from  the  population  into  33  first – year  students  in  the  year  2017.  The research tools included Practice Pronunciation Drill, Pronunciation assessment, and Satisfaction questionnaire.  The data were analyzed with the basic statistics and t-test.


               The research findings were as follows:


                    Pronunciation Drill of The Language Clinic Project had the efficiency is 84.37/81.62, according to the set criterion 80/80.  The effectiveness index of the practice was 0.4680 or 46.80% The pre-test and post-test scores were significantly different at .01 levels and the satisfaction of students who attended the Language Clinic was at the highest level.

Published
2018-06-29
How to Cite
(บุญชู สุดโสม), พระครูปริยัติกิตติวิมล et al. หมอภาษากับการพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาไทยของนักศึกษา วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 6, n. 1, p. 445-454, june 2018. ISSN 2408-199X. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/338>. Date accessed: 19 jan. 2025.