ความภักดี : ตัวแปรการตลาดที่สำคัญต่อสถาบันอุดมศึกษา
Loyalty : Important Marketing Variables for Higher Education Institutions
Abstract
บทคัดย่อ
บทความเรื่อง “ ความภักดี : ตัวแปรการตลาดที่สำคัญต่อสถาบันอุดมศึกษา ” เป็นบทความวิชาการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อจุดประกายความคิดในการนำเสนอแนวคิดทางการตลาดซึ่งเป็นตัวแปรที่สำคัญต่อการรักษาลูกค้าได้เป็นอย่างดี อันจะเป็นแนวทางให้สถาบันอุดมศึกษาเกิดความสนใจและเห็นความสำคัญของความภักดีนำมาปรับประยุกต์ใช้กับบริบททางด้านการจัดการศึกษา บทความนี้ผู้เขียนได้นำเสนอตามลำดับ ได้แก่ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความภักดี ความหมายของความภักดี การสร้างความภักดี การวัดความภักดี และบทสรุป เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินการของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป
Abstract
The objective of the academic article titles “ Loyalty : Important Marketing Variables for
Higher Education Institutions ” It sparked the idea of delivering marketing ideas that were critical to customer retention. This will be a guideline for higher education institutions to become interested in and see the importance of loyalty and apply them to the context of education management. In this article, the authors present in order, namely, the theoretical concepts related to loyalty. Definition of loyalty Building loyalty Loyalty measurements and conclusions for the benefit of further application in higher education institutions.
References
ชวลิต หมื่นนุช. (2555, 6 สิงหาคม). “ม.เอกชน” ครวญยอดรับ “น.ศ.” หดเล็งปิดกิจการอื้อขายทิ้ง “ต่างชาติ”. มติชน. :1,15.
ถวัลย์ เอื้อวิศาลวรวงศ์ (2547) ความจงรักภักดีต่อองค์การ : กรณีศึกษาเฉพาะพนักงานทั่วไปบริษัท เบทาโกร อโกรกรุ๊ป จากัด (มหาชน) ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
นรินทร์ องค์อินทรี ; และวีรวุธ มาฆะศิรานนท์. (2547). Loyalty วิถีที่ถูกต้อง. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.
ปณิศา มีจินดา. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ. (2551). อิทธิพลของระบบพี่เลี้ยงผ่านตัวแปรอิงฐานของงานที่มีต่อคุณภาพการบริการ
และความภักดีต่อองค์การ : การศึกษาเพื่อเพิ่มคุณภาพการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในโรงพยาบาล
เอกชน. ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2555). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นำใหม่ทางการศึกษา.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พินิติ รตะนานุกูล. (2555, 27 พฤศจิกายน). “ห่วงยอดเรียนอุดมศึกษาลดฮวบ”. มติชน. หน้า 22.
สิทธิโชค วรานุสันติ. (2530). องค์กรและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เสรี วงษ์มณฑา. (2542). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
Buchanan, Bruce. (1974, December). Building Organizational Commitment : Socialization of Managers in Work Organizational. Administrative Science Quarterly. 19(4): 339-347
Day, G.S. (1969). A Two Dimensional Concept of Brand Loyalty . Journal of Advertising Research. 9(8): 29-36
Encyclopedia Britannica. (1971). The definition of loyalty. Retrieved July 24, 2020, from:http://worldfreeinternet.
Frederick F. Reichheld. (1993). Loyalty-Based Management. Harvard Business Review,71 (2), 64-73.
Jacoby, J. ; & Chestnut, R.W. (1978). Brand Loyalty : Measurement and Management. John Wiley: New York.
Porter, L.W. (1974). Organizational commitment, job satisfaction, and turnover among psychiatric technicians. Journal of Applied Psychology, 59(5), 603–609.
Reichheld, F. F. (1996). The Loyalty Effect.Boston , MA : Harvard Business School Press.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย