สังคมไร้ระเบียบต้องการ(คนมี)วินัย

  • จักรกฤษณ์ โพดาพล

Abstract

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดในศตวรรษที่ 21 ที่เหมาะสมสำหรับสังคมไทย วัฒนธรรมไทย และคนไทย เพื่อให้มีการนำปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม สำหรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นั้น มีหลักการสำคัญ คือ การให้ความสำคัญกับผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง เพราะสภาพคนซึ่งหมายถึงผู้เรียนเปลี่ยนไปจากการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ประกอบกับความทันสมัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสาร ทำให้ได้มีการเปลี่ยนบทบาทผู้สอนให้เป็นผู้สร้างแรงบันดาลใจ และเป็นผู้แนะนำให้กับผู้เรียน รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ให้มีความเป็นทันสมัย ใช้สื่อการเรียนการสอนที่เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่และพึ่งพาระบบอินเทอร์เนต การศึกษาต้องมีรูปแบบที่หลากหลายเหมาะสมสำหรับเด็กทุก ๆ คน


          This article is intended to provide an overview of the 21st Century Learning Approach that is appropriate for Thai society, Thai culture and Thai people. For a 21st century study, it is important to focus on learners as self-learners. Because the condition of a person means that the learner has changed from the change of age. moreover, the modern information technology, and communication technology, they has transformed the role of the teacher into an inspirational. It is recommended to students. The learning environment is to be modern. Use modern teaching and technology-based media. Education requires a variety of styles for all children.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). คู่มือปฏิบัติการโครงการนำร่องปฏิรูปการศึกษา ด้านบริหารทั่วไป. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์การศาสนา.
_______. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. ค้นจากเว็บไซต์ www.moe.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2558
กุลธิดา โรจน์วิบูลชัย. (2556). โลกวิศวกรรมและเทคโนโลยี: Generation Alpha. คอลัมน์ 1001, เดลินิวส์, 14 มิ.ย.2556.
ฐิตวํโส ภิกฺขุ. (2549). ศีลธรรมไม่กลับมา โลกาจะวินาศ. อ้างอิงจาก http://board.palungjit.org .ค้นเมื่อ 29 กันยายน 2558.
โคโดโมะ.ความอดทนต่ำ ลักษณะเฉพาะของ Gen Z. อ้างอิงจากhttp://www.kodo-moclub.com/kodomo_4d_gen_z/393/ .ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
นัทธี จิตสว่าง. (2557). รัฐประศาสนศาสตร์หลังสมัยนิยม. อ้างอิงจาก https://www.gotoknow.org/posts/574126. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
บ้านจอมยุทธ. ความไม่เป็นระเบียบของสังคม. อ้างอิงจาก http://www.baanjom-yut.com/library/social_sciences/38.html. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต ). (2540).วิธีสร้างวินัยในตนเอง. อ้างอิงจาก http://www.bud-page.com/. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
พิมพ์ภูมิ ชมแล้ว. (2551). คนดี ต้องมีวินัยในตนเอง. อ้างอิงจาก http://www.vchar-karn.com/blog/38296. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
ภราดร จำนงเวช. (2557). สาระบทความหมวดพัฒนาตนเอง: คน Gen Y คืออะไร ทำไมองค์กรต่างๆควรต้องเจียระไนคน Gen Y ?. อ้างอิงจาก http://www.entraining.net/
article-paradorn_gen-y.php. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2556). ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) ของบุคลากรและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2551). ความเป็นระเบียบและทฤษฎีไร้ระเบียบ. อ้างอิงจาก http://www.mana-ger.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000143025. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
ศิริพงษ์ วิทยวิโรจน์. (2557). สังคมโกลาหล ในยุคโซเชียลมีเดีย. อ้างอิงจาก http://www.mati-chon.co.th/news_detail.php?newsid=1415618208.ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
ศิริพร สะอาดล้วน. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างความมีวินัยในตนเองกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนสังคมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สนุกดอทคอม. (2556). เจนวาย(Gen Y)คืออะไร.อ้างอิงจาก http://guru.sanook.com/8850/. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
เสริมคุณ คุณาวงศ์. (25). คอลัมน์ Creative Experience: ‘เจน วาย’พลังคลื่นลูกใหม่ก้าวต่อไปขององค์กร (กรุงเทพธุรกิจ). อ้างอิงจาก http://cmo-group.com/?p=847. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
John Suler. 2004. The online disinhibition effect, Pub Med, John Suler, 2004 Jun;7(3):321-6.
Marini, Frank. 1971. Toward a New Public Administration: the Minnow brook Perspective, SARANTON: Chandler Pub.Co.
Weerachai. 2013. คุณลักษณะผู้มีวินัยในตนเอง. อ้างอิงจาก http://educazones.blog-spot.com/2013/01/blog-post.html. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2558.
Published
2016-12-31
How to Cite
โพดาพล, จักรกฤษณ์. สังคมไร้ระเบียบต้องการ(คนมี)วินัย. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 2, n. 2, p. 77, dec. 2016. ISSN 2350-9406. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jslc/article/view/1296>. Date accessed: 05 may 2024.