ความเสื่อมในอดีตและอนาคตของศีลธรรม

  • เตชทัต ปักสังขาเนย์
  • ชิษ จุลราช

Abstract

            ความเสื่อมสลายเป็นวัฏจักรของธรรมชาติที่เกิดขึ้นมาผ่านช่วงกาลเวลา มีการเปลี่ยนแปลงทุกยุคทุกสมัยทำให้เกิดการพัฒนาที่ดีว่าเดิม การพัฒนาเป็นรากฐานของอารยธรรม โดยเฉพาะหลักการอยู่ร่วมกันที่มีกรอบของกฎหมาย ระเบียบประเพณี ศาสนาที่ช่วยวางหลักในการดำเนินชีวิต และสร้างความสงบสุขให้กับสังคม ความเสื่อมและความเจริญมีผลกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หากสังคมขาดศีลธรรมอันดี ความเสื่อมโทรมทางจิตก็จะมีมาก การเรียนรู้เท่าทันเหตุการณ์ และอาศัยประสบการณ์จากประวัติศาสตร์จึงเป็นการป้องกันภัยอันตรายได้อย่างดี และเป็นเหตุของการเสริมสร้างความสงบสุขในสังคมโลกอีกทางหนึ่งด้วย


            Degeneration or deterioration was in reality the natural cycle arisen during the time passing by. The change at any period of time was led to better development. Development was the basis of civilization, especially the principle of association under the scope of laws, regulations, and religions that assisted to specify the principle of human living and made the society peaceful. Deterioration and improvement affected the social change. If the society were without morality, the decline of human minds increased. Understanding what happened and depending upon historical experiences became a good way to protect from hazards. On the other hand, it was also a cause to strengthen peace in the global society

References

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2560). พุทธวิธีในการสอน, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
พระพรหมคุณาภรณ์. (2559). รู้จักพระไตรปิฎก ใช้ชัดใช้ตรง. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โอ เจริญมั่นคงการพิมพ์.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2520). พระพุทธศาสนากับสังคมและการเมือง. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา
ทินพันธุ์ นาคะตะ, (2521). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์
ปรัชญา เวสารัชช์. (2544). ประวัติศาสตร์สังคมและการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 21, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.
กรมการศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 22 พระสุตตันติปิฎก เล่มที่ 14 อังคุตตร นิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา
กรมการศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 25 พระสุตตันติปิฎก เล่มที่ 17 ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การ ศาสนา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). สำนักงานสถิติฯ เผยผลสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2563 แหล่งข้อมูล http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/N26-10-61.aspx
Published
2020-06-30
How to Cite
ปักสังขาเนย์, เตชทัต; จุลราช, ชิษ. ความเสื่อมในอดีตและอนาคตของศีลธรรม. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 6, n. 1, p. 113, june 2020. ISSN 2350-9406. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jslc/article/view/1292>. Date accessed: 20 may 2024.