การเมืองการปกครองไทยกับพระพุทธศาสนา
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเมืองการปกครองในแนวทางพระพุทธศาสนา พบว่า การเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันได้มีการนำหลักธรรม คือ “อปริหานิยธรรม” มาประยุกต์ใช้ ซึ่งเป็นหลักธรรมที่เกี่ยวกับการปกครองแบบสามัคคีธรรมหรือสมาพันธรัฐซึ่งถือว่ามีการปกครองที่ค่อนข้างเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดเมื่อได้ปฏิบัติแล้วจะสามารถรักษาความคุณความดีให้เจริญรุ่งเรืองงดงาม ส่งผลให้การปกครองบรรลุเป้าหมายเกิดความสงบสุขต่อประชาชนภายในประเทศเป็นที่ตั้งดังนั้นผู้ปกครองประเทศควรปกครองภายใต้หลักธรรมเพื่อปลูกฝังไปยังเยาวชนคนรุ่นใหม่ตระหนักรู้ เข้าใจถึงเนื้อแท้ของการเมืองการปกครองไทยกับพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริงเพื่อส่งเสริมและสืบสานการปกครองโดยธรรมให้ดำรงคงอยู่สืบไป
References
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2551). ปาฐกถาพิเศษ เรื่องจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ. กรุงเทพฯ : สำนักผู้ตรวจการแผ่นดิน.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2560). หลักนิติธรรมกับธรรมาธิปไตย. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 5.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2540). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2541). ธรรมกับสังคมไทยในสถานการณ์ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2544). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ : สหธรรมมิก.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2543). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ, 2500. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สิทธิกร ศักดิ์แสง. (2561). กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง. นนทบุรี : ภีมปริ้นติ้งเฮ้าส์แอนดีไซน์.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. (2540). พุทธวิธีสอนจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ : เพชรรุ่ง.
Encyclopaedia Britannica, Inc. (2006). Britannica Concise Encyclopedia. 2nd ed. Chicago : Encyclopaedia Britannica, Inc.