อัตลักษณ์และคุณค่าทางความเชื่อของชาวลาวกับพิธีกรรม “ลงข่วง” ในจังหวัดศรีสะเกษ

  • สุทัศน์ ประทุมแก้ว วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระพรสวรรค์ ใจตรง วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • อุทัย ภูคดหิน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

            บทความนี้นำเสนออัตลักษณ์และคุณค่าทางความเชื่อของชาวลาวกับพิธีกรรม “ลงข่วง” ในจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีความโดดเด่นทางด้านวัฒนธรรมที่เรียกว่า “วัฒนธรรมสี่เผ่า” มี 4 ภาษาที่ใช้พูด คือ (1)ภาษาเขมร (2)ภาษาส่วย (3)ภาษาลาว (4)ภาษาเยอ และประกอบด้วย 4 กลุ่มชาติพันธุ์ด้วยกัน คือ เขมร ส่วย ลาว และเยอ กลุ่มชาติพันธุ์ลาว มีการประกอบพิธีกรรมที่คนลาวเรียกว่า “ลงข่วง” ซึ่งพิธีกรรมนี้ หากคุณมองเพียงผิวเผิน จะเป็นเพียงพิธีกรรมการบูชาผีบรรพบุรุษ และความเชื่อที่งมงายที่ถือสืบมาในปัจจุบัน หากนำมาวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งแล้วนั้น พิธีกรรมบูชาผีนี้กลับสะท้อนให้เห็นหลักการหลายๆ ประการไม่ว่าจะเป็นในด้านการปกครอง วัฒนธรรม การแสดง สังคม และความสามัคคีของคนในชุมชน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกระบวนการในการพัฒนาชุมชน และสังคมทำให้ชุมชนมีความเชื่อและเคารพในพิธีกรรมนี้ เพื่อความสงบสุขของครอบครัว และสังคมในอนาคต

References

จำนง ทองสุทธิ์ (ปราชญ์ชาวบ้าน) ผู้ให้สัมภาษณ์. 10 มีนาคม 2563. ณ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ.

ฉัตรทิพย์ นาถสุดา และพรพิไล เลิศวิชา. (2536).วัฒนธรรมหมู่บ้านไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด.

ทองแดง หนองหงอก (ปราชญ์ชาวบ้าน) ผู้ให้สัมภาษณ์. 10 มีนาคม 2563. ณ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ.

ธวัช ปุณโณทก. (2531). ทิศทางหมู่บ้านไทย. กรุงเทพฯ : เจริญการพิมพ์.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2538). วัฒนธรรม คือ ระบบความสัมพันธ์ในชาติไทยเมืองไทยแบบเรียนและอนุสาวรีย์. กรุงเทพฯ : มติชน.

เบญจวรรณ นาราสัจจุ์. (2552). ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาอีสาน.ขอนแก่น : ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มแม่น้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ผ่องศรี ใยเม้า (ปราชญ์ชาวบ้าน) ผู้ให้สัมภาษณ์. 10 มีนาคม 2563. ณ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2537). พิธีกรรมใครว่าไม่สำคัญ. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.

วัฒน์ ดวงมณี และคณะ. (2561). การศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ.รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2550). ทฤษฎีสังคมวิทยา : เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2541). ประวัติศาสตร์ศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : รวมสาสน์.

สุทัศน์ ประทุมแก้ว และคณะ. (2561). ศึกษาภูมิปัญญาด้านการผสมผสานความเชื่อและการประกอบพิธีกรรมของชุมชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ :มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุพัตรา สุภาพ. (2536). สังคมและวัฒนธรรมไทย ค่านิยม ครอบครัว ประเพณี. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

สุวิทย์ ใยเม้า. (กำนันตำบลผือใหญ่) ผู้ให้สัมภาษณ์. 10 มีนาคม 2563. ณ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ.
Published
2020-11-04
How to Cite
ประทุมแก้ว, สุทัศน์; ใจตรง, พระพรสวรรค์; ภูคดหิน, อุทัย. อัตลักษณ์และคุณค่าทางความเชื่อของชาวลาวกับพิธีกรรม “ลงข่วง” ในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 4, n. 2, p. 64-73, nov. 2020. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/885>. Date accessed: 27 dec. 2024.
Section
Academic Article