กระบวนทัศน์การพัฒนาระบบสุขภาพไทย

  • พัชรี มณีไพโรจน์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไคร้ จังหวัดกาฬสินธุ์

Abstract

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษากระบวนทัศน์การพัฒนาระบบสุขภาพไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ระบบสุขภาพไทยได้พัฒนามาพร้อมกับการผูกติดกับความเชื่อ และการศึกษาของคนในสถาบันพระมหากษัตริย์ชาติตะวันตกใช้แนวคิดแบบแพทย์ชีวภาพ ซึ่งใช้การแพทย์เป็นเครื่องมือในการแผ่ขยายอำนาจ กระบวนทัศน์ที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสุขภาพของไทยได้แก่กระบวนทัศน์ต่อบริบทนานาชาติ และปัจจัยพัฒนาระบบสุขภาพให้เกิดความยั่งยืนซึ่งก็คือทรัพยากรบุคคล กระบวนทัศน์ของระบบสุขภาพไทย เป็นเพียงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร มีการจัดตั้งหน่วยงานใหม่และเปลี่ยนแปลงการจัดกลุ่มภารกิจและโครงสร้างการบริหาร ซึ่งนอกจากจะไม่ช่วยแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพแล้ว ยังทำให้เกิดความขัดแย้งในระบบสาธารณสุขของไทย

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2560). ประวัติศาสตร์ 100 ปีการสาธารณสุขไทย. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2560. จาก https://www.moph.go.th.

กระทรวงสาธารณสุข. (2545). แนวทางการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะเปลี่ยนผ่าน. นนทบุรี : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข.

กฤษฎา บุญชัย และคณะ. (2556). แนวคิดและทัศนะต่อความเป็นธรรมของกลไกสำคัญในการอภิบาลระบบสุขภาพ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. (2537). สุขภาพดีถ้วนหน้า. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศรีชัยการพิมพ์.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2545). ความรู้อำนาจ และระบบราชการ : บทวิเคราะห์วัฒนธรรมราชการสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ. (2554). สุขภาพคนไทย 2554 : เอชไอเอ กลไกพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อชีวิตและสุขภาพ. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2560). วาทกรรมการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา.

ถาวร สกุลพาณิชย์. (2554). ความเป็นธรรมและการเข้าถึงบริการสุขภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพไทย.

ประเวศ วะสี. (2546). การปฏิวัติเงียบ : การปฏิรูประบบสุขภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ.

พอพล อุยยานนท์. (2557). การให้บริการและความต้องการบริการสาธารณสุขในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ไพรวัลย์ เคนพรม. (2554). การวิพากษ์นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้ทฤษฎีความยุติธรรมของจอห์น รอว์ลส์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ จรัญญา หุ่นศรีสกุล และเสมอจิต พงศ์ไพศาล. (2552). ระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในภาคใต้. นนทบุรี : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2555). ลดความเหลื่อมล้ำเพิ่มความเป็นธรรม “3 กองทุนสุขภาพ” รับความท้าทายในอนาคต. วารสาร HSRI Forum พื้นที่แบ่งปันความรู้ด้านระบบสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 1(6). 3-7.

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 8. (2556). การประเมินการรับรู้เรื่องสิทธิและความพึงพอใจของผู้ให้บริการต่อระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประจำปี 2556. อุดรธานี : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 8 อุดรธานี.

อัญชนา ณ ระนอง. (2549). โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค กับความมั่นคงด้านสุขภาพของคนไทย. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อำพล จินดาวัฒนะ. (2551). การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม : มิติใหม่ของการสร้างเสริมสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ.

Michael E. Porter. (2004). On Competition Updated and Expanded Edition. Harvard Business School publishing Corporation.
Published
2019-12-31
How to Cite
มณีไพโรจน์, พัชรี. กระบวนทัศน์การพัฒนาระบบสุขภาพไทย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 3, n. 2, p. 62-71, dec. 2019. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/858>. Date accessed: 03 jan. 2025.
Section
Academic Article