พื้นฐานการวิจัยอนาคตศึกษาแบบ EDFR
Abstract
การพัฒนาวิธีการวิจัยอนาคตหลายวิธีที่ใช้การประมวลความรู้จากผู้ทรงวุฒิให้ได้ข้อสรุปมติของผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิ การสร้างภาพอนาคตสร้างได้ใน 2 ลักษณะ คือ รูปแบบและการจำลอง ทั้งสองลักษณะเป็นการจำลองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจได้ดีขึ้นดังนั้นจุดมุ่งหมายของการวิจัยอนาคต เป็นการสำรวจและศึกษาแนวโน้มที่เป็นไปได้ทั้งแนวโน้มพึงประสงค์และแนวโน้มไม่พึงประสงค์ เพื่อหาทางทำให้แนวโน้มพึงประสงค์นั้นเกิดขึ้นและป้องกันแนวโน้มไม่พึงประสงค์ให้หมดไปดังนั้น การวิจัยอนาคตจะมีประโยชน์โดยตรงต่อการวางแผน การกำหนดนโยบาย การตัดสินใจตลอดไปจนถึงการกำหนดยุทธวิธีและกลวิธีที่จะนำไปสู่การสร้างอนาคตที่พึงประสงค์และการป้องกันหรือขจัดอนาคตที่ไม่พึงประสงค์
References
นาตยา ปิลันธนานนท์. (2545). จากมาตรฐานสู่ชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
พรชุลี อาชวอำรุง. (2541). การเรียนรู้ภาษาที่สอง : ผลการวิจัยเอกสาร. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.
Albert, M. (2006). Managing Change at HP Lab: Perspectives for Innovation, Knowledge Management and Becoming a Learning Organization. The Business Review. 5(2). 17-22.
David Nicholls, retold by F. H. Cornish. (2012). One day. Oxford, England : Macmillan Heinemann ELT.
Cronbach Lee Joseph. (1974). Essentials of Psychological Testing. New York : Harper and Row.
Joseph L. and Douglas, John. (1985). Managing : A Contemporary Introduction. Prentice Hall.