การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2

THE DEVELOPMENT OF PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY TO ENHANCE LEARNING ACHIEVMENT OF PACHAT SCHOOL YASOTHON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

  • ประกิต กวดขัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร  เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) สถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน 4 แห่ง 2) ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ความสามารถด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบประเมินความสอดคล้อง แบบประเมินความเหมาะสมของกระบวนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่า IOC และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา เพื่อกำหนดกระบวนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ


ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา  ยโสธร เขต 2 ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก 20 องค์ประกอบย่อย และ 30 กระบวนการดำเนินการ มีค่าดัชนีความสอดคล้องขององค์ประกอบหลักและองค์ประกอบย่อยการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 (IOC) เท่ากับ 0.97 และมีค่าดัชนีความเหมาะสมของกระบวนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 (IOC) เท่ากับ 0.89


This research aims to develop a professional learning community to enhance academic achievement for of Pachat School. Yasothon Primary Educational Service Area Office 2. The sample group consists of  1. Four educational institutions with best practices in professional learning community development. 2. Five experts with knowledge and skills in professional learning community development. By specifically selecting data collection instruments, namely in-depth interviews, a congruence assessment, and a suitability assessment of the professional learning community development process, and analyzing data using frequency values, IOC, and content analysis to determine the professional learning community development process.


The research findings revealed that the process for developing a professional learning community to enhance academic achievement for Ban Pa Chat School under the Yasothon Primary Educational Service Area Office 2 comprises 6 main components, 20 sub-components, and 30 implementation processes. The Index of Item-Objective Congruence (IOC) for the main components and sub-components of the professional learning community development for academic achievement improvement at Ban Pa Chat School under the Yasothon Primary Educational Service Area Office 2 was 0.97. Additionally, the IOC for the suitability of the professional learning community development process for academic achievement improvement at the same school was 0.89. 

References

กันต์ธร หิรัญลักษณ์. (2564). ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชชีพที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เกียรติสุดา กาศเกษม และฉลอง ชาตรูประชีวิน (2559). การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นของโรงเรียนเทศบาล ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18(3). 112-124.

นิกูล ทองหน้าศาล. (2565). รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนหนองโสนพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย. 4(2). 205–220.

นิภาพร สุธรรมวงศ์. (2565). การพัฒนาการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย. 4(3). 1–14.

ประจักษ์ ยอดเมิน. (2563). แนวทางการดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 (หนองบัวลำภู) วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปริญญา มีสุข, อังค์วรา วงษ์รักษา และ ทิพย์วิมล วังแก้วหิรัญ. (2564). การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุของผลการพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของคุรุสภา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 11(2). 155-168.

พวงเพ็ญ เขียวเสน, ไมตรี จันทรา และสมพร ญาณสูตร. (2562). ภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์. 11(2). 72-80.

เพ็ญฉวี นนทะชาติ. (2565). การพัฒนารูปแบบการบริหารชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ตามแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านคูซอด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีษะเกษ เขต 1. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2566. จาก http://news.sisaketedu1.go.th/news/wp-content/uploads/2025/02/1.pdf

วุฒิศักดิ์ บุญแน่น. (2565). ชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนผลการเรียนต่ำในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 8(1). 14–26.

อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2558). กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับครูโรงเรียนเอกชน. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.car. chula.ac.th/display7.php?bib=2128080

Antinluoma, M., Ilomäki, L., & Toom, A. (2018). Schools as Professional Learning Communities. Journal of Education and Learning. 7(5). 76-91.

Gail Richmond & Viola Manokore. (2010). Identifying elements critical for functional and sustainable professional learning communities. Science Education. 95(3). 543-570.

Hendro Yulius Suryo Putro, Rene M. Babiera, Mukhlis Takwin, Ali Rachman, Tiara Ariliani. (2023). Professional Learning Community: Analysis and Impact on the Quality of Learning in Nusantara Capital Buffer School (IKN). International Journal of Asian Education. 5(1). 34-42.

Jame F. Kilbane. (2009). Professional Learning Community – PLC. NASSP Bulletin. 93(3). 184–205.

Muhammad Akram, Saira Taj, & Muhammad Irfan Malik. (2023). Effect of Professional Learning Communities on Student Achievement at the Secondary School Level. Global Social Sciences Review. 8(2). 42-52.

Murad Tareq, Assadi, N., Zoabi, M., Hamza, S., & Ibdah, M. (2022). The Contribution of Professional Learning Community of Pedagogical Instructors, Training Teachers and Teaching Students within a Clinical Model for Teacher Education to Their Professional Development. European Journal of Educational Research. 11(2). 1009-1022.

Stoll, L., Bolam, R., McMahon, A., Wallace, M., & Thomas, S. (2006). Professional Learning Communities. Journal of Educational Change. 7(4). 221-258.

Tamara H. Nelson, Linda Le Bard & Charlotte Waters. (2010). How to Create A Professional Community. DC: National Academies Press.

Vicki Vescio, Dorene Ross, Alyson Adams. (2008). A review of research on the impact of professional learning communities on teaching practice and student learning. Science Direct, Teaching and Teacher Education. 24(2008). 80–91.
Published
2025-06-06
How to Cite
กวดขัน, ประกิต. การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับโรงเรียนบ้านป่าชาด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 9, n. 1, p. 101-113, june 2025. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/2743>. Date accessed: 03 july 2025.