การมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา วัดบูรพาภิราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด

PARTICIPATION OF PEOPLE IN ROI-ET MUNICIPPALITY GUIDELINE FOR PROMOTING AND SUPPORTING BUDDHIST TOURISM AT BURAPHAPHIRAM TEMPLE, PHRA ARAM LOANG, MUEANG ROI-ET DISTRICT, ROI-ET PROVINCE

  • พระอนุชิต อินฺทวีโร (จุลนาค) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พระครูกิตติวราทร ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา ตามความคิดเห็นของประชาชน จำแนกตามเพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา วัดบูรพาภิราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จำนวน 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่า F–test


ผลการวิจัยพบว่า ะดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพางกัน มีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา วัดบูรพาภิราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา วัดบูรพาภิราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ภาครัฐ/หน่วยงานต่างๆ หรือผู้นำชุมชน ควรให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เสนอความคิดเห็นร่วมกับชุมชน เพื่อหาวิธีการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และควรได้เข้าร่วมลงมติหรือลงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพราะคนในชุมชนเป็นเจ้าของพื้นที่และเป็นส่วนที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม เพราะฉะนั้นควรให้ร่วมในการลงมติต่างๆ ร่วมกัน

References

ณรงค์ ขูรูรักษ์. (2553). การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวอุทยานไดโนเสาร์ของประชาชนในตำบลโนนบุรี อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ณรงค์ ณ เชียงใหม่. 2545. การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสานรูสมิแล. 23(2-3). 1-7.

ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ. 2540. หลักการพัฒนาชุมชน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2550). แนวคิดแนวทางการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : บริษัทรำไทยเพลส.

ปาริชาติ วลัยเสถียร์ และคณะ. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

พรทิพย์ คำพอ และคณะ. (2544). บทบาทการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์การบริหารส่วนตำบลในการใช้การแพทย์แผนไทยเพื่อการดูแลสุขภาพของตนเองในชุมชน. ขอนแก่น : ภาควิชาการบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุจินต์ ธรรมชาติ. (2549). การวิจัยภาคปฏิบัติวิธีลัด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

อรทัย ก๊กผล. (2546). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิปริญญาโทสาหรับนักบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Cohen, J.M. & Uphoff, N.T. (1986). World Development. New York : McGaw – Hill.
Published
2024-12-25
How to Cite
อินฺทวีโร (จุลนาค), พระอนุชิต; ผศ.ดร., พระครูกิตติวราทร. การมีส่วนร่วมของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนา วัดบูรพาภิราม พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 8, n. 2, p. 458-469, dec. 2024. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/2669>. Date accessed: 18 jan. 2025.