การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACHIEVEMENT WITH A STORY LINE LEARNING ARRANGEMENT TOGETHER WITH E-BOOKS THAI LANGUAGE COURSE, MATTHAYOMSUEKSA 3
Abstract
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยด้วยการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 8 แผน (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์โดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ paired samples T test ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เสภาขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วแต่งงานกับนางพิม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.32/86.43 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน
References
เรื่อง ชนิดของคำ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ณัฐวรรณ พลเจริญ และศุภฤกษ์ ทานาค. (2562). การพัฒนาทักษะการอ่านวรรณคดีไทยโดยใช้เทคนิค SQ3R ในรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Journal of Education Naresuan University. 21(3). 77–88.
ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ปาจรีย์ ทรงเสรีย์. (2559). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เผชิญ กิจระการ. (2544). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา E1/E2.วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 5(11). 44-51.
แม้นมาส ชวลิต. (2539). แนวทางส่งเสริมการอ่าน. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ.
วรรษมน โลกานุวัตรเสถียร, วิภาดา ประสารทรัพย์. (2562). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการสื่อสารภาษาจีนพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกุหลาบวิทยา ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบสตอรี่ไลน์. วารสาร มมร วิชาการล้านนา. 8(2). 71-80.
วรางคณา น้อยจันทร์. (2563). รูปแบบการสอน Storyline ร่วมกับสื่อประสม เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการฟังการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. Valaya Alongkorn Review. 10(3). 46-59.
สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรรถพล อนันตรวรสกุล. (2545). การจัดกิจกรรมการสอนด้วยวิธี Storyline. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัครวัฒน์ ศรวัฒนานนท์ และทรงภพ ขุนมธุร. (2565). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกด้วยกระบวนการสุนทรียสาธกร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดียสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. Journal of Modern Learning Development. 7(3). 68-82.