ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักพรหมวิหาร 4

TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP ACCORDING TO THE FOUR BRAHMA VIHARA PRINCIPLES

  • สันทัด สุมนเมธี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • เอกราช โฆษิตพิมานเวช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • สุนทร สายคำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Abstract

บทความวิชาการนี้มีความประสงค์นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักพรหมวิหาร 4 เป็นการบูรณาการข้อมูลนี้เกี่ยวข้องภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับพรหมวิหาร 4 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักพรหมวิหาร 4 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นผู้นำที่ใช้ในการจูงใจผู้ตามด้วยวีการต่าง ๆ  เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำเร็จ สามารถนำความสำเร็จสู่องค์กรด้วยความจริงใจ ความรัก ความปรารถนาดี ความหวังดี  คิดช่วยเหลือเกื้อกูล ด้วยความเต็มใจ มีความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี ทำตนเป็นกลาง ยุติธรรม มองเห็นทุกคนสำคัญ เท่าเทียมกัน โดยมีองค์ประกอบคือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ตามหลักพรหมวิหาร 4 2) การสร้างแรงบันดาลใจตามหลักพรหมวิหาร 4  2) การกระตุ้นทางปัญญาตามหลักพรหมวิหาร 4 4) การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4  ซึ่งเป็นการนำหลักธรรมพรหมวิหาร 4 คือ 1) เมตตา 2) กรุณา 3) มุทิตา 4) อุเบกขา  เป็นวิธีการดำเนินงานของผู้บริหาร นำหลักธรรมไปบูรณาการใช้กับความเป็นภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง

References

กอบกิจ ธรรมานุชิต. (2558). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในการบริหารงานโรงเรียนกีฬาสังกัดสถาบันการพลศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.

แก้ว ชิดตะขบ. (2547). รวมวิชาธรรมศึกษา ชั้นตรี (ตามหลักสูตรสนามหลวงแผนกธรรม). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศาสนา.

จิราภรณ์ ผันสว่าง. (2562). ผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ Professional Education Leadership. มหาสารคาม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ธุรกิจสัมมา รธนิธย์. (2556) หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ข้าวฟ่าง.

นัฎฐกานต์ ทันที. (2555). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

นิตย์ สัมมาพันธ์. (2529). การบริหารเชิงพุทธ. กรงเทพฯ : โอ.เอส. พลิ้นติ้งเฮ้าส์.

บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ปัญญา นันทภิกขุ (ปั่น ปญฺานนฺโท). (2541). หน้าที่ของคน (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.

ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง : ประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์การภาครัฐในยุคปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2541). พระในบ้าน. กรุงเทพฯ : คาธาวรรณการพิมพ์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : เอส.อาร์พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด.

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยฺมงฺคโล). (2552). หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์ : คุณลักษณะความเป็นผู้นำที่ดี. ราชบุรี : มูลนิธิพุทธภาวนาวิชชาธรรมกายาราม.

พิสิฐ เจริญสุข. (2543). ปกิณกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์.

วรญา ทองอุ่น. (2549). มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

วิเชียร วิทยุคม. (2548). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2560). รูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
Published
2023-01-03
How to Cite
สุมนเมธี, สันทัด; โฆษิตพิมานเวช, เอกราช; สายคำ, สุนทร. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักพรหมวิหาร 4. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 603-613, jan. 2023. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/2485>. Date accessed: 03 july 2024.