ความงามของพระพุทธรูปไม้ชาวอีสานตามหลักอุบัติการณ์ใหม่
THE BEAUTY OF THE ISAN WOODEN BUDDHA IMAGE ACCORDING TO THE NEW INCIDENCE PRINCIPLE
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าและความงามของพระพุทธรูปไม้ของชาวอีสาน ตามหลักสุนทรียศาสตร์ โดยใช้เกณฑ์ตัดสินความงามของกลุ่มอุบัติการณ์ใหม่ ในการวิเคราะห์ความงาม ในครั้งนี้ ผลการวิเคราะห์คุณค่าและความงามของพระพุทธรูปไม้ชาวอีสานตามเกณฑ์ตัดสินความงามตามทฤษฎีอุบัติการณ์ใหม่ ด้วยองค์ประกอบความงาม 5 อย่าง นั้น ตามองค์ประกอบ 5 อย่างแล้ว พบว่า พระพุทธรูปไม้ของชาวอีสานมีครบทั้ง 5 องค์ประกอบตามเกณฑ์ของกลุ่มอุบัติการณ์ใหม่ จึงมีคุณค่าและความงามตามเกณฑ์ตัดสินของอุบัติการณ์ใหม่
References
จรูญ โกมุทรัตนานนท์. (2539). สุนทรียศาสตร์. นนทบุรี : เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
จี ศรีนิวาสัน. (2545). สุนทรียศาสตร์ แปลเรียบเรียง สุเชาวน์ พลอยชุ่ม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ชอบ ดีสวนโคก. (2545). พระไม้ลายมีอบรรพชนไทอีสาน. ขอนแก่น : ศิริภัณฑ์ ออฟเซ็ท.
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. (2537). สุนทรียทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
พระมหาปพน กตสาโร. (2560). พระพุทธรูปไม้ : คุณค่าและคติธรรมของคนอีสาน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.
พ่วง มีนอก. (2536). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วนิดา ขำเขียว. (2543). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ : พรานนกการพิมพ์.
ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2564). ฐานข้อมูล-พระพุทธรูปไม้อีสาน. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2564. จาก https://sites.google.com/view/phramai/ฐานข้อมูล-พระพุทธรูปไม้ อีสาน