การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งความสุขตามธรรม

IMPROVE THE QUALITY OF LIFE AND SOCIETY OF HAPPINESS ACCORDINGLY

  • ณภัสสรส์ เหมาะประสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง
  • ชนัดดา เยาว์ธานี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง

Abstract

           บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งความสุขตามธรรม อันเน้นคำสอนของพระพุทธเจ้าที่สามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นแนวความคิดที่ปรากฏขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองในสหรัฐอเมริกาในเริ่มแรกที่เดียวนั้นคำว่าคุณภาพชีวิตมีความหมายเหมือนการมีชีวิตที่ดี ตามนัยยะที่ใช้เฉพาะกับผู้บริโภคที่สื่อให้เห็นถึงสถานภาพที่เป็นวัตถุอันจับต้องได้หรือสื่อให้เห็นถึงการครอบครองสินค้าและอสังหาริมทรัพย์การมีชีวิตที่ดีหรือการมีคุณภาพชีวิตคือการมีที่ดินการมีบ้านที่มีเครื่องตกแต่งบ้านพร้อมการมีรถยนต์และอื่นๆจนกระทั่งในปลายศตวรรษที่ยี่สิบมีการเปลี่ยนแปลงจาก “การมี” มาเป็น “การเป็น” ซึ่งสะท้อนคุณค่าที่ไปไกลกว่าวัตถุหรืออสังหาริมทรัพย์เช่นการเป็นผู้มีคุณภาพชีวิตคือการเป็นผู้ที่มีการศึกษาการเป็นผู้มีเสรีภาพส่วนบุคคลหรือการเป็นผู้มีความพึงพอใจในด้านต่างๆ ของชีวิต แนวคิดทฤษฎีด้านคุณภาพชีวิตมีพัฒนาการมาเป็นลำดับรวมทั้งมีการกำหนดสร้างการชี้วัดคุณภาพชีวิตเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ของประเทศต่างๆ จนกลายเป็นแนวคิดทฤษฎีและการชี้วัดที่เป็นสากลและนิยมกันไปทั่วโลก

References

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2557). ตัวชี้วัดทางสังคมกับนโยบายสังคม: ความเข้าใจเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิชัย ศรีรัตน์ และคณะ. (2556). รายงานโครงการศึกษาเรื่องการจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ : ศูนย์กฎหมายสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา.

Cobb. C.W. (2000). Redefining progress: Measurement tools and the quality of life. San Francisco : Redefining. Progress.

Costanza. (2007). Quality of life: An approach integrating opportunities, human needs, and subjective well-being. Ecological Economics. 61(2-3). 267-276.

Juczynski, Z. (2006). Health-related quality of life: Theory and measurement. Folia Psychologica. 10(2006). 4-15.

Kerce, E. W. (1992). Quality of life: Meaning, measurement, and models. San Diego, CA : Navy Personal Research and Development Center.

Nordenfelt, L. (1993). Quality of life, health and happiness. Aldershot, Hants : Ashgate Publishing Co.

Susniene, D., &Jurkauskas, A. (2009). The concepts of quality of life and happiness: Correlation and differences. Engineering Economics. (3). 58-66.

Ventegodt, S., Merrick, J., & Andersen, N.J. (2003). Quality of life theory I. The IQOL theory : An integrative.
Published
2022-02-09
How to Cite
เหมาะประสิทธิ์, ณภัสสรส์; เยาว์ธานี, ชนัดดา. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งความสุขตามธรรม. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 601-613, feb. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1947>. Date accessed: 22 nov. 2024.
Section
Academic Article