ความรักของชูชกในพระเวสสันดรชาดกจากมุมมองความรักของพุทธศาสนา

CHU CHOK'S LOVE IN THE VESSANTARA JATAKA FROM THE PERSPECTIVE OF LOVE IN BUDDHISM

  • พระมหาอำนวย มหาวีโร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรักของชูชกในพระเวสสันดรชาดกในมุมมองความรักในพุทธศาสนา ผลการศึกษาพบว่า ความรักของชูชกในพระเวสสันดรชาดกคือความรักที่มีต่อนางอมิตตตาภรรยาสาวของเขา เป็นความต้องการในกามระหว่างหญิงกับชาย มีความใคร่ ความกำหนัดยินดี ที่มีตัณหาตัณหา ความทะยานอยาก เป็นเหตุให้เกิดขึ้น ในพุทธศาสนาถือว่าเป็นความรัก ระดับหยาบ คือความรักในขั้นสัญชาตญาณ ด้วยเหตุผลที่ว่าเพราะ ชูชกและนางอมิตตตาไม่เคยรักกันมาก่อน ที่ได้เป็นสามีภรรยากันเพราะพ่อกับแม่ของนางอมิตตตายกลูกสาวให้เฒ่าชูชกเพื่อให้หนี้เงิน ที่ชูชกฝากไว้นั้นเอง

References

ดนิตา ดวงวิไล. (2564). ชูชกในพระเวสสันดรชาดกสำนวนอีสาน : วาทกรรม อำนาจ กับการสร้างสภาวะความเป็นอื่น. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564. จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/mekongjournal/article/view/107432/85023

พระเทพโสภณ (ประยรู ธมฺมจิตโต). (ม.ป.ป.). ปรัชญาความรัก : ศิลปะแห่งการมอบและรับความรัก. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับสฺยามรฏฺฐเตปิฏกํ 2525. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2530). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2505. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

ศุภลักษณ์ สุวรรณเครือ. (2532). มรรควิธีแห่งรักและเมตตาเพื่อรับใช้สังคมในทัศนะวิทยากรชาวพุทธ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สืบพงค์ ธรรมชาติ. (2542). วรรณคดีชาดก. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2559). พุทธยานกับความรัก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สยามปริทัศน์.
Published
2022-07-06
How to Cite
มหาวีโร, พระมหาอำนวย. ความรักของชูชกในพระเวสสันดรชาดกจากมุมมองความรักของพุทธศาสนา. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 593-600, july 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1944>. Date accessed: 22 nov. 2024.
Section
Academic Article