ความเสมอภาคเชิงพุทธจริยศาสตร์ในสังคมประชาธิปไตย
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเสมอภาคเชิงพุทธจริยศาสตร์ในสังคมประชาธิปไตย เป็นแนวคิดที่ส่งเสริมให้มนุษย์มีความเสมอกันที่การกระทำอย่างเสรีใน“ความดี” ในการอยู่ร่วมกันของมนุษยชาติ และสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางแห่งการอยู่ร่วมกันตามหลักพระพุทธศาสนา ทั้งการปฏิบัติและเป็นแบบอย่าง เช่นความเห็นใจกัน ความเป็นมิตรกัน และการช่วยเหลือกัน จึงเป็นบรรทัดฐานทางสังคม การปฏิบัติต่อกันอย่างเท่าเทียมกันอันดีระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ด้วยกันเองซึ่งหลักการนี้สามารถพัฒนาสังคมให้เกิดความสงบสุข เพราะทุกคนในสังคมมีความเสมอภาคในแง่ที่ว่าเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ และตาย บทความนี้ให้ข้อเสนอแนะว่า ความเสมอภาคของบุคคลในสังคมเน้นให้บุคคลมีหลักธรรมที่เกื้อกูลกัน ด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองที่ทำให้มีในใจของบุคคลได้ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อและสันติภาพที่ยั่งยืนในการอยู่ร่วมกันของบุคคลในสังคมและมนุษยชาติ
References
เขมานันทะ (ส. ชัยมุสิก). (2547). พุทธสารคดีตามรอยพระพุทธบาทบนเส้นทางจาริกธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์.
คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. (2536). พุทธานุพุทธประวัติฉบับมาตรฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.
จรูญ สุภาพ. (2519). ระบบการเมืองเปรียบเทียบ และหลักวิเคราะห์การเมืองแบบใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
เชาวน์วัศ เสนพงค์. (2547). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทวิช เปล่งวิทยา. (2525). จิตวิทยาภาษาธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รุ่งเรืองสาส์น.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สามัคคีสาส์น.
พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). มองสันติภาพโลกผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สหธรรมิก.
พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 31. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ว. วชิรเมธี. (2547). ธรรมบันดาล. กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2541). คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุธรรม ชูสัตย์สกุล. (2547). จริยศาสตร์ของอริสโตเติล: ความดีคือความสุข. วารสารปัญญาจักษุ. 5(30). 41-48.
สุนทร ณ รังสี. (2543). พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
Austin Renney. (1962). The Governing of Men. New York : Holt Rinehart and Winston.