ดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย

  • นารีรัตน์ จันทวฤทธิ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • นันทา โพธิ์คำ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • วีณา ภาคมฤค มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยโดยประยุกต์ใช้ดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะให้ถูกต้องตามช่วงวัยและพัฒนาการของเด็ก จากการศึกษาพบว่าดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะมีความสำคัญต่อการพัฒนาทักษะด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย เพราะการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เด็กนอกจากจะมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงแล้ว ยังช่วยให้เด็กเก่ง ดี และมีความสุข สนุกสนานเพลิดเพลินผ่านดนตรี เสียงเพลง และทำนองจากเครื่องดนตรี ดังนั้นจึงได้นำความสำคัญของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังวะเพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์และส่งเสริมพัฒนาทักษะทางด้านร่างกาย โดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ได้แก่ แขน ขา ลำตัว และการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อต่างๆ ให้เด็ก เดิน กระโดน วิ่ง เล่นเครื่องเล่นสนาม และเล่นปีนป่ายอย่างอิสระ ส่งผลต่อพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย มีสุขนิสัยที่ดีในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่กล้ามเนื้อมัดเล็ก ได้อย่างคล่องแคล่วประสาทสัมพันธ์กันและมีสุขภาพจิตดีนำไปสู่การทำกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพให้เป็นบุคคลที่ดีของสังคมสืบต่อไป

References

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เบรนเบสบุ๊คส์.

จันทร์กฤษณา ผลวิวัฒน์. (2556). การเรียนพิเศษสำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2564. จาก http://taamkru.com/webboard

ณัฐพร สุดดี. (2562). ทักษะและเทคนิคการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวสำหรับเด็กเล็ก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เทพรัตน์ พานิชยิ่ง. (2553). ผลของการใช้กิจกรรมดนตรีตามแนวคิดของออร์ฟ ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝ่ายประถม) เขตวัฒนากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นงค์นุช พรรณฑูล. (2554). ผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่เน้นท่าฤาษีดัดตนเชิงประยุกต์ เพื่อพัฒนาการทางร่างกายของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรพิมล เวสสวัสดิ์ และศศิลักษณ์ ขยันกิจ. (2558). ผลของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้แนวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 10(2). 63-73.

เยาวรัตน์ รัตนธรรม. (2561). การเพิ่มการรับรู้ด้านมิติสัมพันธ์และความใส่ใจของนักเรียนปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา : มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิณี ชิดเชิดวงค์. (2537). การศึกษาเด็ก. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2560). การจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). เอกสารประกอบการสอน การประเมินผลแนวใหม่ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ : การประเมินสร้างความรู้จักนักเรียน. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรพรรณ สุมานัส. (2539). ปัจจัยบางประการที่เกี่ยวข้องกับอายุครรภ์ พัฒนาการทางกายและสุขภาพของเด็กแรกเกิด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Published
2021-11-11
How to Cite
จันทวฤทธิ์, นารีรัตน์; โพธิ์คำ, นันทา; ภาคมฤค, วีณา. ดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 5, n. 2, p. 237-248, nov. 2021. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1649>. Date accessed: 22 nov. 2024.
Section
Academic Article