การจัดการความเครียดโดยใช้อริยสัจ 4 ในการบริหารจัดการองค์กร

MANAGING STRESS BY USING THE 4 NOBLE TRUTHS IN ORGANIZATIONAL MANAGEMENT

  • อุทัย ภูคดหิน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • สุทัศน์ ประทุมแก้ว วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พีรวัส อินทวี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์

Abstract

            บทความนี้มุ่งศึกษาการจัดการความเครียดโดยใช้อริยสัจ 4 ในการบริหารจัดการองค์กร พบว่า การแก้ปัญหาความเครียดโดยใช้อริยสัจ 4 มีขั้นตอน คือ ขั้นทุกข์ขั้นสมุทัยขั้นนิโรธ และขั้นมรรคขั้นทุกข์คือ การบริหารจัดการในองค์กรสิ่งแรกในการทำงานคือปัญหาที่เกิดจากเพื่อนร่วมงาน สิ่งแวดล้อม ขั้นสมุทัยคือ สาเหตุของทุกข์ที่เกิดขึ้นในขั้นทุกข์คือ เจอระบบงานบริหารงานที่ขัดต่อความเป็นจริง มีความขัดแย้งกันในองค์กร ขั้นนิโรธคือ หาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากสาเหตุที่พบในองค์กร และขั้นมรรคคือ นำปัญหาต่างๆ มาดำเนินการแก้ไขปัญหาจากสาเหตุที่เกิดขึ้น ด้วยการให้บุคลากรในองค์กรเข้าปฏิบัติธรรม โดยนำอริยสัจ 4 มาประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการความเครียดขององค์กรให้มีความสันติสุขสืบไปขององค์กร

References

กรมสุขภาพจติ. (2541). บริการสุขภาพจิตมุ่งชีวิตเป็นสุข. กรุงเทพฯ : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

กิจจา บานชื่น. (2559). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

จำลอง ดิษยวณิช และพริ้มเพรา ดิษยวณิช. (2545). ความเครียด ความวิตกกังวลและสุขภาพ. เชียงใหม่ : แสงศิลป์.

ชูทิตย์ ปานปรีชา. (ม.ป.ป). อารมณ์ ความเครียดและการปรับตัว ในเอกสารการสอนชุดวิชาจิตวิทยาทั่วไป หน่วยที่ 8-15. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปิยะวรรณ เลศพานิช. (2542). การศึกษาความเครียด สาเหตุของความเครียด และวิธีเผชิญความเครียดทางการเรียนของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ส่วนกลาง กลุ่มที่ 4. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เปรม วาทบัณฑิตกุล. (2552). การจัดการความเครียดของนักกีฬามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2540). ความสำคัญของพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 30. กรุงเทพฯ : มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต.

พระมหาไพทูรย์ ปนฺตนนฺโท. (2550). การบริหารคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

พระมหาสมชาย เกิดแก้ว. (2537). พระพุทธศาสนาในสังคมที่เปลี่ยนแปลง : ศึกษาเปรียบเทียบการตักบาตรของพุทธศาสนิกชนในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหิดล.

พระสุทัศน์ ประทุมแก้ว. (2557). ศึกษารูปแบบการปฏิบัติธุดงควัตรในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระอนุพงษ์ พรมสอาด. (2551). การประยุกต์ใช้อริยสัจสี่ในการจัดการความเครียด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2543). องค์การและการจัดการภาครัฐ. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มะมัสซูกี สามะแอ. (2551). คามเครียดและการจัดการความเครียดของบุคลากรสาธารณสุขในสถานีอนามัย จังหวัดนราธิวาส.
วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วรพจน์ สถิตย์เสถียร. (2548). บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบกับกลวิธีเผชิญความเครียดของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2550). หลักการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : Diamond In Business World.

สุคนธ์ทิพย์ หนุนพล. (2544). ความเครียดและการปรับตัวของนักศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ โรงเรียนผู้ใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุภาภัทร ทนเถื่อน. (2553). การศึกษาความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาและพัฒนาการ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโฒ.
Published
2022-09-21
How to Cite
ภูคดหิน, อุทัย; ประทุมแก้ว, สุทัศน์; อินทวี, พีรวัส. การจัดการความเครียดโดยใช้อริยสัจ 4 ในการบริหารจัดการองค์กร. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 650-661, sep. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1636>. Date accessed: 27 apr. 2024.
Section
Academic Article