วัด : พื้นที่สร้างสุขของชุมชนในสังคมไทย

  • พระมหาใจสิงห์ สิริธมฺโม มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พระใบฎีกานรินทร์ สีลเตโช มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • โสวิทย์ บำรุงภักดิ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พระอ่อน มหิทธิโก วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระแสงจันทร์ ฐิตสาโร วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Abstract

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวัดในฐานะเป็นพื้นที่สร้างสุขของชุมชน จากการศึกษาพบว่าวัดมีความสำคัญและจำเป็นสำหรับชาวพุทธในสังคมไทย แต่ในปัจจุบันมีวัดหลายแห่งยังขาดการบริหารจัดการที่ดีมีระเบียบหลายด้าน เช่น ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ภูมิทัศน์ เป็นต้นเพื่อเป็นการปรับวัดให้เป็นที่สร้างสุขของชุมชนได้ตลอดไป จึงได้นำเสนอหลักการและแนวคิด 2 ประการ คือ 1) หลัก ส5  (5 ส) ประกอบด้วย(1) การจัดการระบบระเบียบวัดใหม่ (2) ความสะดวก (3) ความสะอาด (4) เพิ่มประสิทธิภาพ และ (5) ความมีวินัย และ 2) แนวคิดเรื่องการยอมรับความจริงที่เป็นอยู่ของวัดในปัจจุบัน กับหลักการเรื่องอาวาสสัปปายะ ซึ่งการสร้างวัดที่ดีจะต้องกำหนดพื้นที่ให้วัดสะอาด มีต้นไม้ สวนหญ้าตลอดจนเป็นสถานที่น่าพักผ่อนหน่อนใจสำหรับบุคคลในชุมชน และทำให้ผู้เข้าวัดเกิดความรู้สึกเย็นกายสบายใจจะเป็นการเพิ่มพื้นที่สร้างสุขให้เกิดขึ้นแก่ชุมชนและสังคมไทยต่อไป

References

กีรติ ศรีวิเชียร.(2558). อดีต ปัจจุบันและอนาคต แห่งบทบาททางสังคมของวัด. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://supanneeke.blogspot.com

คณะสงฆ์วัดหนองแวง พระอารามหลวง. (2563). งานกฐินพระราชทาน ปีพุทธศักราช 2563. ขอนแก่น : โรงพิมพ์ขอนแก่นการพิมพ์.

เจษฎา ทองรุ่งโรจน์. (2547). พจนานุกรมปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัท ออฟเซท เอ็กเพส จำกัด.

ฐิติพร สะสม. (2553). ศึกษาระบบการบริหารและการจัดวัดในพระพุทธศาสนากรณีศึกษา : วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอภูเวียง จังหวัดนาน. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทฺธาจาโร). (2558). ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 3(1). 132-143.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพะยอม กัลป์ยาโณ. (2562). ต้องปรับปรุงศาสนาครั้งใหญ่. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2564. จากhttp://www.lokwannee.com/web2013/?p=380702

พระวีระศักดิ์ ชยธมฺโม. (2558). แนวทางการจัดการวัดสันติสุขตามหลักสัปปายะ 7 : กรณีศึกษาวัดธารน้ำไหล จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 3(2). 98-114.

พระสนธิศักดิ์ อาภสฺสโร (รังกา). (2562). การบรรเทาอาการป่วยเรื้อรังผู้สูงอายุด้วยหลักสติปัฏฐาน 4 ของศูนย์สร้างสุขผู้สูงอายุพระธรรมวิสุทธาจารย์ (คูณ ขนฺติโก) วัดหนองแวง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พันตรี ป. หลงสมบูรณ์. (2546). พจนานุกรมมคธ-ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งเรืองการพิมพ์.

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2562).คู่มือโครงการ วัด ประชา รัฐ สร้างสุข สร้างสัปปายะด้วยวิถี 5 ส. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สามารถ มังสัง. (2563). วัดร้างตะรางแออัด : สะท้อนสังคมกำลังเสื่อมใน หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับรายวัน. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2564. จาก https:/2mgronline.com.daily/detail/ 1509/1417/star=0
Published
2021-06-09
How to Cite
สิริธมฺโม, พระมหาใจสิงห์ et al. วัด : พื้นที่สร้างสุขของชุมชนในสังคมไทย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 5, n. 1, p. 59-73, june 2021. ISSN 2730-2644. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jbpe/article/view/1214>. Date accessed: 04 jan. 2025.
Section
Academic Article