กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

  • สมคิด สกุลสถาปัตย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัย เรื่อง “กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีองค์ความรู้/ประสบการณ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง ดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคการวิจัย คือ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร การวิเคราะห์สภาวการณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญที่มีองค์ความรู้/ประสบการณ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน  9 คน การสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีองค์ความรู้/ประสบการณ์การบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 6 คนเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบวิเคราะห์สภาวการณ์ แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบตรวจสอบรายการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนดำเนินการตรวจสอบยืนยันกลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยวิธีการประเมินตามกระบวนการอ้างอิงผู้ทรงคุณวุฒิโดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญที่มีองค์ความรู้/ประสบการณ์และเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการประมวลผลการตรวจสอบยืนยัน คือ ความถี่และร้อยละ


ผลการวิจัยพบว่า


การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วยกลยุทธ์ที่สำคัญ 9 กลยุทธ์ คือ  1) การบูรณาการพฤติกรรมองค์การเชิงพัฒนาความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์การให้เป็นแกนแห่งวัฒนธรรมสถานศึกษา 2) การปรับกระบวนทัศน์ผู้บริหารสถานศึกษาให้มุ่งรวมพลังเปลี่ยนแปลงการจัดการคุณภาพเป็นสำคัญ 3) การปรับเปลี่ยนฐานคิดการบริหารจัดการคุณภาพของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) การปรับรื้อระบบการบริหารจัดการความแตกต่างมุ่งเน้นภาพลักษณ์สถานศึกษาคุณภาพ 5)การเร่งกำหนดและถ่ายทอดแผนที่เส้นทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างชัดเจน และต่อเนื่อง 6) การระดมความคิดกำหนดหมุดหมายเชิงเทียบสมรรถนะการยกระดับคุณภาพมาตรฐานการจัดการงานวิชาการของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 7) การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสื่อกลางการบริหารจัดการงานวิชาการของสถานศึกษา 8) การเสริมสร้างพลังอำนาจครูโดยใช้กระบวนการทางสังคมในการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับผู้เรียน 9) การปรับสมดุลเชิงพลวัติวัฒนธรรมคุณภาพสถานศึกษาแบบต่อเนื่อง


Abstract


The Strategies of Quality Culture Creation in Basic Education School Management was descriptive research. The purpose of this research was to determine the strategies of quality culture creation in Basic Education School management. The samples consisted of 9 specific selected experts/specialists who had the body of knowledge and  experiences in basic education school management for SWOT analysis and in-depth interview and 6 specific selected experts/specialists and stakeholders who had the knowhow and experiences in basic education school management for focus group discussion. The research techniques were document analysis and synthesis, in-depth interview and focus group discussion for the empirical data collecting. The research instruments were document analysis forms, SWOT analysis forms, the unstructured interview form and the focus group discussion record form for the empirical data collecting and the structured interview form and the check list form for confirmation the key components. The data were analyzed by content analysis, and then data synthesis. Using the connoisseurship technique in consideration of the key strategies of quality culture creation in Basic Education School management by interview 7 specific selected experts/specialists who had the body of knowledge and  experiences in Basic Education School management. Statistics that used for data processing  of confirmation were frequency and percentage. 


The research findings revealed that:


The strategies of quality culture creation in Basic Education School management consisted of 9 key strategies, namely 1) Development oriented organization behaviors integration of sense of organization ownership for the school culture core.2) School manager’s paradigm shift of synergy oriented quality change management.3) Stakeholders‘mindset change of quality management. 4) Re-engineering of quality school image based differentiation management.5)Determining and transmiting acceleration of the schools’ education quality development roadmap to the stakeholders clearly and continously.6)Brainstroming delimination of benchmark based milestones for continuous school’s academic management quality standard improvement.7)Promotion of information technology used mediator of school’s academic management.8)Teacher empowerment using socialization process of innovation development in the student concerned learning management.9)Continuous dynamic balancing of school quality culture.

References

คชธร คชพันธ์.(มกราคม-มิถุนายน 2560).“การพัฒนารูปแบบการบริหารวัฒนธรรมคุณภาพสำหรับโรงเรียนประถมศึกษา” วารสารบริหารการศึกษา มศว.14(26):18-27.

ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์.(2557).วัฒนธรรมคุณภาพ : สร้างคน สร้างชาติ.สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน).กรุงเทพฯ:บริษัท ซีโน พับลิชชิ่ง แอนด์ แพคเกจจิ้ง จำกัด.

เชี่ยวชาญ ภาระวงค์. (2559). การพัฒนาตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 206-214.

ชูศักดิ์ เพชรกระจ่าง.(กันยายน - ธันวาคม 2559).“ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรม วัฒนธรรมองค์การ องค์การแห่งการเรียนรู้ และประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครสวรรค์ : การวิเคราะห์เส้นทาง”.วารสารสมาคมนักวิจัย.21(3) : 62-74.

ณฐกร รักษ์ธรรม.(กรกฎาคม-ธันวาคม 2557).“ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคใต้.”วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ดาวรุวรรณ ถวิลการ (2552)วัฒนธรรมองค์การในโรงเรียนรางวัลพระราชทาน : การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(บริหารการศึกษา). ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ดาวรุวรรณ ถวิลการ.(กันยายน-ธันวาคม 2561).”รูปแบบการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”.วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.(ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.6(3):114-126.

ดวงตา ราชอาษา.(พฤษภาคม - สิงหาคม 2559). “บทบาทของผู้นำในกระบวนทัศน์ใหม่”.วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.3(2):180-195.

ธนกฤต เปรมสวัสดิ์.(พฤษภาคม-สิงหาคม 2558).รูปแบบวัฒนธรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี.9(19):94-107.

ธนกฤต เสนามาตย์.(2559).สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2.http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456 789/28692016

ธวัช รวมทรัพย์.(พฤษภาคม-สิงหาคม 2561).องค์ประกอบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต.13(1):71- 84.

ธวัชชัย จันดี.(พฤษภาคม-สิงหาคม 2556) “การศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพองค์การของโรงเรียนระดับประถมศึกษาด้วยกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ”.วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา.14(2):52-59.

นันทพร แสงอุไร.(พฤษภาคม-สิงหาคม 2559).การพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วารสารปัญญาภิวัฒน์. 8(2):134-143.

ปิยะมาศ วงศ์แสน.(มกราคม-มิถุนายน 2560).วัฒนธรรมคุณภาพที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน มาตรฐานสากลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 11(1):130-138.

ปิยะวดี พงษ์สวัสดิ์. (มกราคม-มิถุนายน 2558).การเทียบเคียงสมรรถนะของบุคลากรภายในองค์กร วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา.5(9) :46-51.

ประเวศ วะสี. (2561).กระบวนทัศน์ใหม่ในการปฏิรูปการศึกษา.ภาคีเพื่อการศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP) เขตจตุจักร กรุงเทพฯ.

พิชญา สดชื่นจิตต์ และพนิต ธัญมงคลสวัสดิ์. (2556). เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน. สำนักงาน กพ. กรุงเทพฯ:บริษัท เอพีเอ็ม กรุ๊ป โซลูชั่น จำกัด.

เพ็ชรชมพู พิชญ์พันธ์เดชา.(มกราคม-มิถุนายน 2561)“ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์และวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1” วารสารบริหารการศึกษา มศว.15(28):26-35.

พรฐิตา ฤทธิ์รอด.(มกราคม-มีนาคม 2556).“รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแบบเสริมพลังอำนาจ.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.15(1):60-69.

มนูญ เศษแอ.(2560).“การวิเคราะห์องค์ประกอบวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษารางวัลพระราชทานระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”.วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.28(2):23-33.

มารยาท แซ่อึ้ง และเอกชัย กี่สุขพันธ์.(พฤศจิกายน 2552). “การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล”:วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา.5(2):986-1000.

มณฑ์ธวัล วุฒิวิชญานันต์.(ตุลาคม-ธันวาคม, 2556).“พลังอำนาจการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5.”วารสารศึกษาศาสตร์ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น.7(4): 220-227.

รัตนาภรณ์ ฤทธิรงค์ (2557)วัฒนธรรมองค์กรในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)สงขลา:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

วรรัตน์ เทพมะที.(กรกฎาคม-ธันวาคม 2558). “ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับการทำงานเป็นทีมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2”. http://e-jodil.stou.ac.th.5(2) 64-74.

วิจิตร ศรีสะอ้าน .(7 พฤศจิกายน 2556). วัฒนธรรมการประกันคุณภาพ: คู่คิดหรือคู่แข่ง การประชุมทางวิชาการประจำปีของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร.

วิไลวรรณ มีแหยม.(กรกฎาคม-ธันวาคม 2551).“วัฒนธรรมโรงเรียน :กรณีศึกษาโรงเรียนศรีกระบวนวิทยาคมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2(2):168-175.

ศักดิ์ดา คำโส.(มกราคม-มีนาคม,2560).“การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจทีมงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.”วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.11(1):170-182.

ศราวุธ แจ้งสุข. (มกราคม - เมษายน 2560)“แนวทางการพัฒนาทักษะการใช้ไอซีทีของครูกลุ่มโรงเรียนดีประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23”วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.4(1):74-86.

สมาพร ภูวิจิตร.(January – June. 2015). “รูปแบบวัฒนธรรมองค์กรที่มีประสิทธิภาพ.” Journal of
Nakhornratchasima College.9(1):73-77.

สอาดลักษม์ จงคล้ายกลาง.(2556).การพัฒนารูปแบบการบริหารเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (บริหารการศึกษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สิทธิชัย นันทนาวิจิตร.((พฤษภาคม-มิถุนายน 2551).การสร้างวัฒนธรรมองค์กรสู่ความเป็นเลิศ.Productivity World.13(74):18-24.

สุธีรัตน์ อริเดช.(2557). “ยุทธศาสตร์การพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพ ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ”วารสารราชพฤกษ์.12(2):30-37.

สุพล จันต๊ะคาด.(เมษายน – มิถุนายน 2560). รูปแบบการส่งเสริมวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 19(2):260-272.

สำรวย ภักดี.(มกราคม-มิถุนายน,2561).“รูปแบบเชิงสาเหตุการเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคใต้.”วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี.5(1):241-271.

อัจฉรา สุขกลั่น.(มกราคม-มิถุนายน 2561).กลยุทธ์การสื่อสารองค์กรเพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรแข็งแกร่ง.วารสารการจัดการสมัยใหม่.16(1):75-82.

อภิญญา รัตนโกเมศ(ตุลาคม - ธันวาคม 2552) “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3”วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 32(4):180-191.

อภิชาติ ทองน้อย.(กันยายน-ธันวาคม 2555). “การเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.” วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. 6(3) : 143-155.

อุดม ชูลีวรรณ.(2559).รูปแบบการพัฒนาระบบการบริหารคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษาสู่ความเป็นเลิศระดับสากล.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฏีบัณฑิต(การบริหารการศึกษา),สงขลา:บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Batten, Joe D. (1992). Building a Total Quality Culture. Menlo Park, CA: Crisp Publication.

Blanchard, Ken.(1988). “Shaping Team Synergy,”Today's Office. 22(7):91-95.

Cameron, K. and Sine, W. 1999. A framework for organizational quality culture. Quality
Management Journal 6(4): 7-25.
Covy, Stephen R.(1990). 7 Habits of Highly Effective People. Published by Simon & Schuster,
New York.
Denison Daniel R.(1990).Corporate Culture and organizational Effectiveness. New York :
John Wiley & Son.

Ehlers, U.D. (2009). Understanding quality culture.Quality Assurance in Education 17(4):343- 363.

Fernando ,M. and Yang, Y.( December, 2006)“Transformational Leadership in a Cross-cultural Setting.”Australia,New Zealand Acadamy of Management(ANZAM).

Freeman,R. E. (1984). Strategic Management: A Stakeholder Approach. MA: Pitman.

Herscowitch ,Lynne and Meyer John P. “Commitment to Change Extension of a Three-Component Model.”Journal of Applied Psychology.87(3):2002.

Hoy, Wayne K. and Miskel ,Cecil G. Miskel. (1991)Education Administration Theory Research and Practice. 4thed. Singapore : McGraw-Hall.Inc.

James C. Sarros, Brian K. Cooper &Joseph C. Santora. (2008). Building a Climate for Innovation Through Transformational Leadership and Organizational Culture. Journal of Leadership & Organizational Studies.15(2):145-158.

Katz, Danial and Kahn, Robert L.(1978).Organization and Management :A Systems Approach.2nded.New York:McGraw–Hill Book Company.

Laszlo, E.(1972)The Systems View of the World, George Braziller, New York.

Linder, Jane C. and Brooks, Jeffrey D., October (2004) “Transforming the Public Sector.” Outlook Journal.

Michael Hammer & James Champy(October 10, 2006). Reengineering the Corporation: A Manifesto for Business Revolution (Collins Business Essentials).

Post, J. E., Lawrence, A. T., & Weber, J. (2002). Business and Society:Corporate Sasin Executive Education.(2516).ความเป็นเลิศในการบริการ.Retrieved June 2,2017 from execed.sasin.edu/wp-content/uploads/2016/04/SE-TH.pdf.

Scott C. D., Jaffe D T. (1991). Empowerment : Building a committed Workforce. California : Koga Page.

Short, Paula M. & Rinehart, James S. (1992, November). “School Participant Empowerment Assessment of Level of Empowerment within the School Environment,” Educational and Psychological Measurement.52 (4) : 951–960.

Theodore J. Kowalski, on Community Education Journal, Vol XXV, Nos 3 & 4, Spring/Summer 1997, pp5-8 February 7, 2009.
Published
2020-06-30
How to Cite
สกุลสถาปัตย์, สมคิด. กลยุทธ์การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 277-293, june 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/671>. Date accessed: 24 nov. 2024.