หลักพละ 5 ช่วยพัฒนาชีวิตสู่ความสำเร็จในยุคไทยแลนด์ 4.0

The Five Powers Development to Life Success in Thailand 4.0

  • พระมหาคณาวุฒิ อคฺคปญฺโญ บำรุงทรัพย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
  • พระมหานพพร อภิพนฺโธ ศรีวัฒนสกุลชัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระสุรพล อาภรโณ ไกรรอด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Abstract

บทความเรื่องนี้สรุปได้ว่า บุคคลที่ประสบความสำเร็จและมีความสุขสงบในชีวิต  มักมีบุคลิกภาพของคนที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง ด้วยว่า ตนเองนั้น รู้ดีรู้ชั่ว  รู้ว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดผิด  มีความเชื่อมั่นและศรัทธาในสิ่งที่ดีงาม ไม่ว่าจะมีใครวิจารณ์ตนว่าอย่างไร  ย่อมไม่หวั่นไหวไปกับคำติฉินนินทาของผู้อื่น ย่อมเป็นบุคคลที่มีกำลังใจกล้าแข็ง หากปรารถนา หรือต้องการสิ่งใดในชีวิตแล้ว จะมีความมานะบากบั่น เพียรพยายามกระทำให้สำเร็จจนได้ บุคคลผู้นั้น ย่อมเป็นผู้มีสติรู้ตัวอยู่เสมอ ควบคุมตนเองได้ดี ไม่ใจลอย ไม่เผลอไผล ย่อมเป็นผู้มีสมาธิดี มีใจสงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน หากทำการสิ่งใดอยู่ ก็จะมีสมาธิอยู่กับสิ่งที่ทำ  อีกทั้งยังเป็นผู้มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และเกิดจากประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมา จึงทำให้มีวิจารณญาณที่ดี มีความสามารถเข้าใจสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี และมีการตัดสินใจที่ถูกต้อง


คำสำคัญ : พละ 5, การพัฒนา, สังคมไทยยุค 4.0


 


ABSTRACT


         This paper concludes that the people, who are successful and happy with life, seem to be self-confident because they realize what is right or what is wrong. As well as, they have belief and faith in goodness. No matter how others blame them, they are never sensitive with others’ wrong verbal actions. They will be brave in heart. If they desire anything, they will succeed with their own effort. These people, certainly, are always conscious, self-controlled, not absent-minded. They are always concentrated and undistracted. If they do something, they will be concentrated with it. Besides, they will be clever and intelligent. These are caused by learning and experiencing. Consequently, these people will have right judgement and are capable to understand all situations.

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพเวที. (2532). vพุทธศาสน์กับชาติไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (ศ.ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2552). วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูใบฎีกา เสมอ ธมฺมวฑฺฒโน (เป๋ากระโทก). (2556). “วิธีการประยุกต์หลักพละ 5 ในพระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อุทัย (ยูมิ) เอกสะพัง. “พระพุทธสาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน”(เว็บไซต์) url=https: //www.gotoknow.org/posts/470916

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2563). "3 กลไกขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0” สืบค้น 5 มีนาคม 2563. url=https://www.facebook.com/drsuvitpagefref=nf&pnref=story

ธนภณ สมหวัง. (2563). ”พุทธศาสนากับการพัฒนาไทยแลนด์ 4.0”. url=www.bangkokbiznews.com/blog/detail/641259
Published
2019-10-25
How to Cite
บำรุงทรัพย์, พระมหาคณาวุฒิ อคฺคปญฺโญ; ศรีวัฒนสกุลชัย, พระมหานพพร อภิพนฺโธ; ไกรรอด, พระสุรพล อาภรโณ. หลักพละ 5 ช่วยพัฒนาชีวิตสู่ความสำเร็จในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 563-570, oct. 2019. ISSN 2408-199X. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/670>. Date accessed: 22 nov. 2024.