พัฒนาการและการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
Early Childhood Education Curriculum 2017 in accordance with the Early Childhood Education
Abstract
บทคัดย่อ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เป็นหลักสูตรแกนกลาง ที่มีความยืดหยุ่นที่สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด สามารถนำไปปรับปรุงให้เหมาะกับเด็กและสภาพท้องถิ่นได้ ซึ่งหลักสูตรฯ ที่ดีควรจะเหมาะกับช่วงวัยและพัฒนาการของเด็กปฐมวัยจึงจะเหมาะสมกับการนำไปใช้จัดการเรียนรู้เด็กปฐมวัย จากการศึกษาค้นคว้าและสังเคราะห์ความรู้จากทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย พัฒนาการของเด็กปฐมวัยจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้จากสถานศึกษาปฐมวัย พบว่าหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 มีความสอดคล้องกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย พัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่หน่วยงานต่าง ๆ กำหนดไว้ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และหน่วยการเรียนรู้จากสถานศึกษาปฐมวัยเป็นอย่างมาก โดยหลักสูตรมีความเหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการของเด็ก ดังนั้นจึงสามารถนำมากำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่ดี เหมาะสมกับวัยได้ และสามารถนำมาเป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ต่าง ๆ ของสถานศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยได้
Abstract
Early Childhood Education Curriculum 2017 is a core curriculum with flexibility which allows educational institutions or early childhood development centers to adapt the curriculum to their children and local contexts. A good early childhood education curriculum should primarily suit the development of children in each age range so that it can be appropriately applied to manage the learning of children in early years. This study aims to examine whether this curriculum is compatible with the development of children in early years. Based on the analysis of documents and research of institutions in charge of early childhood development, the Early Childhood Curriculum 2017 is found to be consistent with the age-range development of the children. It is, therefore, can be applied as guidelines for designing learning management units of early childhood education institutions.
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย. นนทบุรี :สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. (2549). คืนอิสระสู่สมองเด็กไทยแก้ วิกฤตชาติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตะวันออก.
นิชรา เรืองดารกานนท์. (2551). ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก. กรุงเทพฯ: โอลิสติก พับลอชซิ่ง.
ประพุทธ ศิริปุณย์. (2552). พัฒนาการของทารกและเด็ก. กรุงเทพฯ: นวสาส์นการพิมพ์.
เยาว์รัตน์ รัตน์นันต์. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย เขตสุขภาพที่ 8. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563. จาก https://1th.me/obqLR
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2557). เกณฑ์พัฒนาการของเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563. จาก http://www.thaipediatrics.org/file_upload/files/pratom.pdf
วัฒนา มัคคสมัน. (2550). การสอนแบบโครงการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย เล่ม1, แนวคิดเชิงทฤษฎี-วัยเด็กตอนกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2553). การวัดและประเมินผลแนวใหม่ เด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2561). การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563. จาก https://konthong.com/articles/child-development-table/
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย. (2561). พฤติกรรมของเด็กกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัยตามระดับควอไทล์ (Quartile) และจำแนกตามกลุ่มอายุของเด็ก 3 – 5 ปี. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย