วัยรุ่นยุคใหม่กับการใช้ภาษาไทยที่ควรรู้

Modern teenagers and the use of Thai language that should be known

  • พระมหานรินทร์ สุมโน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Abstract

บทคัดย่อ


ภาษาไทยเป็นทั้งวัฒนธรรม และความภาคภูมิใจของคนไทย แต่ปัจจุบันคนไทยจำนวนไม่น้อย ไม่รู้ว่าพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ในภาษาไทยมีกี่รูป กี่เสียง และยังมีคนไทยอีกจำนวนมากที่ยังพูดภาษาไทยไม่ถูกต้อง มีการรวบรัดตัดตอนคำให้สั้นลง เพื่อความสะดวกจนเกิดปัญหาการสื่อสารและเข้าใจความหมายของภาษาในทางที่ผิดกซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจทำให้เสน่ห์ของภาษาไทยลดลงไปกปัญหาการใช้ภาษาของเยาวชนไทยนับ วันยิ่งลุกลามจนเป็นปัญหาระดับชาติกประกอบกับผลสำรวจที่พบว่าคนไทยกว่าก60กเปอร์เซ็นต์ท่องพยัญชนะ ไทยทั้งสี่สิบสี่ตัวไม่ได้ด้วยซ้ำและด้วยวุฒิภาวะที่ไม่มากพอของเยาวชนจึงไม่เล็งเห็นถึงความสำคัญของภาษาไทย อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยเรื่องเก่าๆเหล่านี้จึงยังเป็นปมที่ไม่คลายออกโดยง่าย หากแต่ยังแน่นขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป โดยกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นวัยรุ่น และนับวันยิ่งขยายวงกว้างออกไปเรื่อย ๆ ซึ่งปัญหาเหล่านี้หากทุกภาคส่วนในสังคมยังคงนิ่งเฉยไม่เร่งรีบหาทางแก้ไข และยังคงมีการใช้บ่อยๆ ก็จะทำให้เกิดความเคยชิน อีกทั้งมีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนในที่สุดก็จะกลายเป็นเรื่องปกติกกซึ่งน่าหวั่นเกรงยิ่งนักว่าในอนาคตปัญหาวิกฤตภาษาไทยก็จะยิ่งยากเกินการเยียวยาแก้ไข


Abstract


Thai language is the pride of Thai people.  But nowadays, not many Thai people know what it is and there are still many people who cannot speak Thai.  Shortening of the words must be maintained for ease of communication and misunderstanding of the meaning of the language.  English usage problems of orphans who have suffered from the problems that occur to many forty people together.  And with the maturity that is not enough to clearly see the importance of the Thai language  However, it is a problem that cannot be easily solved, but there are still problems over time, with the teenage users and the number becoming more and more widespread.  Remain  But do not rush to find a solution and yet  There are more and more wrong language usage. It will become something that happens in the future.  The Thai language crisis is even more difficult than the remedy.

References

กวิน สินรุ่งเรือง. (2556). กด Likeภาษาไทยใช้ภาษาไทยให้ถูกให้เป็น. กรุงเทพฯ: เดอะซีนนิธอินเตอร์บุ๊คจำกัด

กุหลาบ มัลลิกะมาส. (2551). ปาฐกถานำเรื่อง การใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

กาญจนา นาคสกุล. (2551). การเสวนาเรื่องการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

จุฬาภรณ์ มาเสถียรวงศ์. (2550). เด็กไทยบนทางสามแพร่ง : บทสังเคราะห์กรณีศึกษาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดในโครงการติดตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนรายจังหวัด.กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ดนัย เมธิตานนท์. (2549). 280 คำไทยที่มักเขียนและใช้กันผิด. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มิติใหม่

พระธรรมกิตติวงศ์. (2551). การใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน.(2554). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.

ศิริพร ปัญญาเมธีกุล. (2550). ภาษาในห้องสนทนาทางอินเทอร์เน็ต.กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมศักดิ์ ทองช่วย. (2552). หลักภาษาไทยในชีวิตประจำวัน. นครปฐม:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล

อัจฉรา ชีวพันธ์. (2552). อ่านสนุก ปลุกสำนึก เล่ม1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Published
2020-12-26
How to Cite
สุมโน, พระมหานรินทร์. วัยรุ่นยุคใหม่กับการใช้ภาษาไทยที่ควรรู้. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 2, dec. 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/1134>. Date accessed: 26 apr. 2024.