การสื่อสารทางการเมืองตามหลักพุทธธรรม

  • พิบูลย์ เพียรพานิชกุล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • อัฉราวรรณ์ ใจยะเขียว มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ยุทธนา ปาณีต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Abstract

            การสื่อสารทางการเมืองของผู้นำที่มีต่อประชาชนในสังคมปัจจุบัน คือเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เพราะปัจจุบันการสื่อสารทางการเมืองในประเทศไทยจะประสบปัญหาจากผู้สื่อสาร เนื่องจากผู้นำทางการเมืองในระดับต่าง ๆ ยังขาดทักษะในการสื่อสาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักมาจากข้อจำกัดหลายด้าน อาทิเช่น ผู้ส่งสารขาดทักษะในการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่รู้จริง กระบวนการส่งสารไม่มีความชัดเจน เครื่องมือสื่อสารยังไม่ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน และผู้รับสารยังไม่สามารถเข้าถึงสารที่ผู้ส่งสารส่งมาได้อย่างแท้จริง จึงนำมาสู่การเขียนบทความวิชาการชิ้นนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสื่อให้กลุ่มต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการสื่อสารในทางการเมืองสู่สังคมภาคประชาชน อาทิเช่น ผู้ปกครองของรัฐรวมถึงนักการเมืองระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่นตลอดจนประชาชนทั่วไปให้ตระหนักถึงการอยู่ร่วมกันภายใต้ระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ให้ยึดมั่นในหลักพุทธศาสนาในการสื่อสารทางการเมืองแบบตรงไปตรงมา มีความซื่อสัตย์ทั้งต่อหน้าและลับหลัง เพื่อธำรงไว้ในหลักการมีส่วนร่วมในทางการเมืองโดยยึดหลักการสื่อสารทางการเมืองเป็นพื้นฐานในการประกอบกิจต่าง ๆ ในสังคม เศรษฐกิจ การเมือง อย่างยั่งยืนต่อไป


คำสำคัญ: การสื่อสาร;  การเมือง;  หลักพุทธธรรม;


 


Abstract


               The political communication of a leader to the people in the current society was an important tool for development of the society and the nation because, at the time, the political communication in Thailand had several problems from the messengers as some political leaders at various levels were without communication skills. Such a problem was derived from some limitations. For example, the message sender was without a skill to retrieve real or correct information, the process of message sending was not clearly distinct, the communication equipment was not up-to-date, and the message receiver was unable to access what the message sender sent. Therefore, it was a reason for the author to demonstrate this academic article, of which the objective was to inform several groups with duties or responsibilities on political communication to the public to recognize coexistence under Thailand’s constitutional monarchy, to adhere the Buddhist principles in political communication, and to be with honesty in order to maintain the political participation. In addition, it was aimed at utilization of political communication as the basis for business operations in social, economic and political sustainability.


Keywords: Communication;  Politics;  Buddha-dhamma;

References

นันทนา นันทวโรภาส. (2563) สื่อสารการเมือง: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ: ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

พระธรรมโกศาจารย์(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก. 5,000 เล่ม

Brian McNair, (1995). An Introduction to Political Communication, New York: Routledge
Published
2021-12-31
How to Cite
เพียรพานิชกุล, พิบูลย์; ใจยะเขียว, อัฉราวรรณ์; ปาณีต, ยุทธนา. การสื่อสารทางการเมืองตามหลักพุทธธรรม. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 155, dec. 2021. ISSN 2350-9406. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jslc/article/view/1803>. Date accessed: 03 jan. 2025.