การพิจารณาเลื่อนคนในกับการตัดสินใจหาคนนอก แบบไหนดีกว่ากัน

  • ธนวัฒน์ ชาวโพธิ์

Abstract

บทความมีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของการสรรหาบุคลากรเข้าสู่ตำแหน่ง โดยพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งบุคลากรภายในกับการสรรหาจากบุคคลภายนอก โดยการศึกษาจากแนวคิดหลักการบริหารงานบุคคลเพื่อให้เกิดผลดีต่อการทำงานขององค์กร และเกิดประสิทธิผลในการคัดเลือกบุคคลต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม


The true thought, the true speech and true action can change the future and the world by the nature of pure heart such as  purification of kids.

References

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2555). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์.
เจษฎา นกน้อย. (2554). หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์.
บุษกรี วัชรศรีโรจน์. (2555). HR Cafe. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ.
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2556). นายจ้างอยากได้พนักงานแบบไหนเข้าทำงาน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557 แหล่งสืบค้น http://prakal.wordpress.com/.
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2557). อนาคตของบริษัทกับการสรรหาคัดเลือกพนักงาน. ออนไลน์.สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557 แหล่งสืบค้น http://th.jobsdb.com/.
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2557). เลื่อนคนใน หรือหาคนนอก แบบไหนดีกว่ากัน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557 แหล่งสืบค้น http://prakal.wordpress.com/.
สร้อยตระกูล อรรถมานะ. (2550). พฤติกรรมองค์กร: ทฤษฎีและการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์.
jobsDB. (2557). 13 พฤติกรรมของพนักงานที่ไม่ส่งเสริมความก้าวหน้าขององค์กร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2557 แหล่งสืบค้น http://th.jobsdb.com.
Published
2019-06-28
How to Cite
ชาวโพธิ์, ธนวัฒน์. การพิจารณาเลื่อนคนในกับการตัดสินใจหาคนนอก แบบไหนดีกว่ากัน. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 5, n. 1, p. 77-87, june 2019. ISSN 2350-9406. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jslc/article/view/1244>. Date accessed: 26 nov. 2024.