รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างคุณธรรมของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4
A MODEL OF CHANGE MANAGEMENT TO ENHANCE STUDENTS FOR MORAL UNDER BURIRAM PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 4
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างคุณธรรมของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 191 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน เลือกแบบเจาะจง 2) สร้างรูปแบบฯ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการสนทนากลุ่มเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการประเมินความเหมาะสมเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 30 คน เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.90 แบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์มีความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.93 แบบสัมภาษณ์ ประเด็นการสนทนากลุ่ม แบบสอบถามความเหมาะสม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความต้องการจำเป็น
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็น ลำดับที่ 1 การมีวิสัยทัศน์ 2) รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างคุณธรรมของนักเรียน ประกอบด้วย 5 ส่วน ส่วนที่ 1 หลักการและวัตถุประสงค์ ส่วนที่ 2 วิธีดำเนินการ ส่วนที่ 3 กลไกการบริหาร ส่วนที่ 4 แนวทางการประเมิน และส่วนที่ 5 เงื่อนไขความสำเร็จ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
The purposes of this research were to 1) Study the current conditions, desired conditions and needs of change management to enhance students’ moral under Buriram Primary Education Service Area Office 4. The sample group 191 School administrators, by Stratified Random Sampling. the group of informants in study the guidelines for creating a model 3 experts, by purposive sampling. 2) Set a model, the informant group consisted of 9 experts, and the Group of informants in the suitability assessment 30 School administrators, by purposive sampling. tools used in data collection including, the current condition questionnaire has a reliability value of 0.90. the desired condition questionnaire has a reliability value of 0.93., interview form, Focus Group Discussion issue and suitability questionnaire. and satisfaction questionnaire. statistics used in data analysis are percentage. average and standard deviation and priority needs index.
The results were as follows: 1) Current condition at medium level, desirable condition at the highest level, and the number one need Visionary Leadership. 2) A model of change management to enhance students’ moral under Buriram Primary Education Service Area Office 4, consists of 5 parts: part 1 principles and objectives, part 2 procedure, part 3 management mechanism, part 4 assessment guidelines, and part 5 success conditions. assessment results on appropriate at the highest level.
References
ขนิษฐ์ณิชา ทองสุข. (2560). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2551). กระบวนการปฏิรูปเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ : การประเมินและ การประกัน. กรุงเทพฯ : วีทีซีคอมมิวนิเคชัน.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. ทพิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประเวศ วะสี. (2550). ระบบการศึกษาที่คุณธรรมนำความรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล นนทบุรี.
พัชรินทร์ สงครามศรี. (2561). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภารดี อนันต์นาวี. (2553). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. ชลบุรี : มนตรี.
สายฟ้า หาสีสุข. (2564). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดเข้าใจเข้าถึงพัฒนาของโรงเรียนบ้านเมืองแก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. วารสารนวัตกรรมสังคมและเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน. 5(2). 1–10.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. (2568). แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2568. บุรีรัมย์ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข. เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2552). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552-2559. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2551). คู่มือการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อ เสริมสร้างความเป็นเลิศในการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภาครัฐ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.).
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม : โรงพิมพ์สารคามการพิมพ์.
Dewey, J. (1975). Moral principles in education. Carbondale. IL : Southern Illinois. University Press.
Jean Piaget. (1997). Equilibration of Cognitive Structures. New York : Viking Press.
Kohlberg, L. (1976). Moral Stages and Moralization: The Cognitive-Development Approach. In T. Lickona (Ed.), Moral Development and Behavior: Theory and Research and Social Issues. New York, NY : Holt, Rienhart, and Winston.