โปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1

PROGRAM FOR ENHANCING ACTIVE LEARNING MANAGEMENT OF TEACHERS UNDER THE OFFICE OF MAHASARAKHAM PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 1

  • ชุติกาญจน์ นามโร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Abstract

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู 298 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น     


ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดขั้นสูงและการลงมือปฏิบัติ การใช้สื่อและเทคโนโลยี การประเมินผลตามสภาพจริง และการออกแบบการเรียนรู้

References

กมลพร ทองธิยะ. (2564). การพัฒนาการคิดขั้นสูง: ความสามารถทางสติปัญญาที่สำคัญในโลกยุค New Normal. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 19(2). 45-58.

เฉลิมพล สุปัญญาบุตร. (2562). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านจัดการเรียนรู้เชิงรุก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. 16(2). 266-280.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). บทบาทของครูในฐานะผู้นำทางวิชาการและการเปลี่ยนบทบาทของครูในยุคปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

ยุภาลัย มะลิซ้อน (2563).การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วัฒนา หงสกุล (2561). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ Graduate School Conference 2018. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 30 พฤศจิกายน 2561. 123-130.

วาสนา โพธิ์ศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 16(2). 266-280.

วิภาพรรณ พินลา. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกในวิชาสังคมศึกษา= Active learning in social studies. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์.

วิภาพรรณ พินลา. (2565). การจัดการเรียนการสอนเชิงรุก: แนวทางและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมาคมนักเรียนและนักศึกษาไทย.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 (2565). แผนการดำเนินงานประจำปี 2565. มหาสารคาม : กลุ่มนิเทศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและส่งเสริม
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). นโยบายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพครูและการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุภาวดี เสนภูงา. (2564). โปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูคณิตศาสตร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 8(7). 172-183.

อภิณห์พร สถิตภาคีกุล (2561). การออกแบบการเรียนการสอน : ทักษะเพื่อความสำเร็จของครู.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภินันท์ สิริรัตนจิตต์. (2560). การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Gardner, H. (1983). Frames of mind: The theory of multiple intelligences. New York : Basic Books.

Schell, J., & Bulter, D. (2018). Active Learning: Strategies for the Classroom. New York, NY: Routledge.

Stacy, R. (2015). Active Learning Strategies: A Practical Guide. Thousand Oaks, CA : SAGE Publications.
Published
2024-12-11
How to Cite
นามโร, ชุติกาญจน์; หกสุวรรณ, สุทธิพงศ์. โปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 4, n. 3, p. 411-419, dec. 2024. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/2618>. Date accessed: 03 jan. 2025.
Section
บทความวิจัย