(Retracted Article) การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน

THAI LANGUAGE LEARNING MANAGEMENT WITH FLIPPED CLASSROOM

  • ชุลีพร นาหัวนิล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ปรีดา นวลรักษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • จำเนียร ฉิรินัง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ริศร พงษ์สุวรรณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Abstract

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน จากการศึกษาพบว่าเป็นห้องเรียนในยุคความปกติถัดไปที่เปลี่ยนชั้นเรียนแบบเดิม ผู้สอนเป็นผู้บอกหรืออธิบายความรู้มาสู่ชั้นเรียนแบบใหม่ที่ผสานศาสตร์การสอนและเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยที่สามารถพัฒนาเพิ่มเติมจากการใช้วีดีทัศน์สำหรับการเรียนรู้นอกห้องเรียน ด้วยการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยและเหมาะสมกับผู้เรียนในยุคปัจจุบันและแพลตฟอร์มการเรียนรู้ดิจิทัลโดยใช้หลักการสำคัญในการจัดการเรียนรู้ทั้ง 4 องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่ยืดหยุ่น วัฒนธรรมการเรียนรู้ เนื้อหาที่คัดสรร และความเป็นผู้สอนมืออาชีพ ผ่านการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นทุกสถานที่และทุกเวลาด้วยการเรียนรู้ก่อนเข้าชั้นเรียน ในชั้นเรียน และหลังเข้าชั้นเรียน การปฏิบัติภารกิจการเรียนรู้ที่ใช้ความคิด ลงมือปฏิบัติจริง และการสะท้อนความคิดอย่างหลากหลายจนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ภายใต้ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เกิดการสร้างความรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21


This article aims to study Thai Language Learning Management with Flipped Classroom was a classroom in the next normal era that has changed the traditional class. The instructor was the one who explained the knowledge to the new class that combines the science of teaching and digital technology to support the students’ learning. It could be further developed from the use of videos for learning outside the classroom with the use of modern media and technology and appropriate to learners in modern time. By using the 4 Principles in learning management were Flexible environment, Learning culture, Curated content, and professional teaching. Through the creation of learning space to happen anywhere and anytime with pre-class learning, in class, and after class, the practice of learning tasks that used thinking, took action and reflecting on variety of ideas until learning was meaningful under experience and learning environment that encouraged knowledge creation, authorized students to acquire the essential skills for the 21st century learning.

References

กรรณิกา ทรัพย์วิริยะกุล. (2557). การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2566. จาก http://koikanni.blogspot.com/p/blog-page_88.html

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2561). ยูบิควิตัสเทคโนโลยีที่ส่งเสริมการเรียนรู้: การออกแบบที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : หน่วยปฏิบัติการวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2507). พระราชกรณียกิจด้านอักษรศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ และวัฒนธรรม : พระราชกรณียกิจ และพระอัฉริยภาพในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2566. จาก https://3king.lib.kmutt.ac.th/King9CD/chapter 13/page3.html

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดการะบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2564). EDULEARN. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2566. จาก https:// edulearn.ednopark.com

วัฒนาพร ระงับทุกข์. 2563. สมรรถนะเด็กไทยในยุคโลกพลิกผัน (VUCA World). คุรุสภาวิทยาจารย์. 1(1). 8-11.

วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงศ์.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัยฉบับราชบัณฑิตยสภา.กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

สุพัตรา อุตมัง. (2558). แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน: ภาพฝันที่เป็นจริงในวิชาภาษาไทย.วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 16(1). 51-58.

สุมาลี ชัยเจริญ และคณะ. (2563). กรอบแนวคิดกระบวนการจัดการเรียนรู้โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สร้างนวัตกรที่มีความคิดสร้างสรรค์. ขอนแก่น : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อิศรา ก้านจักร. (2559). ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เอส.อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.

อิศรา ก้านจักร. (2559). พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

Bergmann, J., & Sams, A. (2012). Flip your classroom: Reach every student in every class every day. Washington, DC : ISTE.

Flipped Learning Network (FLN). (2014). The Four Pillars of F-L-I-P™. Retrieved 9 March 2022. From www.flippedlearning.org/definition

Joyce, B. & Weil, M. (1996). Models of teaching. 5th ed. Boston : Allyn & Bacon.

Lo, C. K., & Hwang, G. J. (2018). How to advance our understanding of flipped learning: Directions and a descriptive framework for future research. Knowledge Management & E-Learning. 10(4). 441-454.
Published
2023-11-06
How to Cite
นาหัวนิล, ชุลีพร et al. (Retracted Article) การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้ห้องเรียนกลับด้าน. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 3, n. 3, p. 182-195, nov. 2023. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/2356>. Date accessed: 19 may 2024.
Section
บทความวิชาการ