หลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะครูปฐมวัยเพื่อทักษะภาษาไทยให้แก่ผู้เรียน

TRAINING CURRICULUM OF EARLY CHILDHOOD EDUCATION TEACHER’S COMPETENCY FOR LEARNERS’ THAI LANGUAGE SKILLS

  • รัชนีบูรณ์ เนตรภักดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • คัมภีรภาพ คงสำรวย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • พระกิตติพงษ์ สิริปญฺโญ (สิมณี) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Abstract

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะครูปฐมวัยเพื่อทักษะภาษาไทยให้แก่ผู้เรียน จากการศึกษาพบว่า หลักสูตรฝึกอบรมเป็นกระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนร็ เพื่อให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามความมุ่งหมายและจุดประสงค์ที่กําหนดไว้แนวคิดการพัฒนาหลักสูตรอบรมครูปฐมวัยเพื่อพัฒนากระบวนการทางภาษา จึงประกอบด้วย 1)ความเป็นมา 2) หลักการ 3) จุดมุ่งหมาย 4) โครงสร้างเนื้อหา 5)กิจกรรมการฝึกอบรม 6)สื่อและแหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผล การพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาพึงกระทำเป็นอย่างยิ่งเพื่อพัฒนาสมรรถนะครูปฐมวัยให้สามารถพัฒนาตนเองและสังคมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของโลก เนื่องจากปฐมวัยถือเป็นช่วงวัยที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในการวางรากฐานการพัฒนาในทุกด้านเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่พัฒนาการด้านต่างๆ โดยเฉพาะสมองมีการพัฒนาและเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วที่สุด หากเด็กได้รับการเลี้ยงดูและการจัดการเรียนรู้ที่ดีและถูกต้องตามหลักพัฒนาการหลักการเรียนรู้ และหลักวิชาการแล้ว เด็กจะเกิดการพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในช่วงเวลาต่อไป ซึ่งในปัจจุบันโลกได้เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ที่มีเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม การเมือง เทคโนโลยี การสื่อสารและการดำเนินชีวิต เด็กจึงต้องได้รับการพัฒนาคุณลักษณะเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ


 


This article was aimed at studying training curriculum of early childhood education teacher’s competency for learners’ Thai language skills. The findings were found that the training curriculum was a planning procedure of learning activity to enable behavioral changes according to aim and purpose. The concepts of training curriculum development for early childhood education teachers for development of language process contained 1) background, 2) principle, 3) purpose, 4) content structure, 5) training activity, 6) media and learning source, and 7) assessment and evaluation. Developing curriculum to suit social conditions and current changes was necessary for those who involved in educational management. Due to the most importance and necessity of childhood through development in all aspects that brain was rapidly developed and learned, this should be prioritized for development of early childhood education teacher’s competency for self and social development to be up to global changes. Provided that children got proper nurture and learning management in accordance with the principles of learning and academic development, they would be able to be developed potentially affected to future quality of life. As the changes in the 21st century, it was illuminated that characteristics development of children were acquired for living worthily in the 21st century.

References

กันตวรรณ มีสมสาร. (2560). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 7(2). 45-57.

กาญจนา คุณารักษ์. (2558). พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เฉลิมชัย พันธ์เลิศ. (2562). พัฒนาการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน: จากอดีตสู่ยุคเปลี่ยนผ่านสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency). สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563. จาก https://www.thaiedreform.org/wpcontent/uploads/2019/08/Core_competency09.pdf

ชวลิต ชูกำแพง. (2559). การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร แนวคิดและกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : พี บาลานซ์ดีไซด์แอนปริ้นติ้ง.

ณัฐกิตติ์ นาทา. (2558). กลยุทธ์การสอนภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13(1). 57-69.

นิรมล ศตวุฒิ. (2543). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พัชราภา ตันติชูเวท และ จรูญศรี มาดิลกโกวิท. (2559). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเจเนอเรชั่นแอลฟ่าที่เหมาะสมกับสังคมไทยในอนาคต. วารสารครุศาสตร์. 44(1). 129-142.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2557). เติบโตตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัชนีบูรณ์ เนตรภักดี, ณัฐกิตติ์ สิริวัฒนาทากุล. (2565). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการหลักธรรมทางพุทธศาสนาเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมของเยาวชนกลุ่มเปราะบางในจังหวัดขอนแก่น. Journal of Educational Issues. 8(1). 546-556.

วัชรภัทร เตชะวัฒนศิริดํารง, ภัทราวรรณ จันทร์เนตร. (2564). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ สำหรับครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 9(2). 103-121.

วิจารณ์ พานิช. (2557). การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร. พิมพค์รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมาจล.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2525). พัฒนาหลักสูตรและการสอน–มิติใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

วิรัช วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2550) .การสื่อสารภาษาในงานเขียนทางวิชาการ. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 24(2). 34-52).

สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2549). การประเมินสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID - PLAN) และแผนพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ (CAREER PL.AN). นครปฐม : ฝ่ายวิชาการ โครงการพัฒนาระบบการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ประจําปี 2555. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2553). คู่มือการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสามระดับอุดมศึกษา (ฉบับสถานศึกษา) พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

Beauchamp, G. A. (1981). Curriculums Theory. 4th ed. Illinois : F.E. Peacock.

Crow and A.W. Crow. (1980). Introduction to Education. New Delhi : Euraga Publishing House.

John Wiles. (2009). Leading Curriculum Development. California : Corwin.

Oliva, Peter F. (1992). Developing The Curriculum. 3rd ed. New York : Harper Collins Publishers.

Print, M. (1993). Curriculum development and design. 2nd ed. Sydney : Allen & Unwin.

Richards, J. C. and Rodgers, T. (1986). Approaches and Methods in Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press.

Rogers, E. (2003). Diffusion of Innovations. New York : Free Press.

Smith, F. and Gay, S. P. (1990). Teachers and Research : Language Learning in the Classroom. New York : International Reading Association.

Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York : Harcourt, Brace and World.

The Partnership for 21st Century Learning. (2015). Learning for 21st Century: A Repost and Mile Guide for 21st Century skills. Retrieved 9 March 2022. From http:// www.21 stcenturyskills.org

Trilling, B., & Fadel, C. (2009). 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times. San Francisco, CA : John Wiley & Sons.
Published
2023-11-10
How to Cite
เนตรภักดี, รัชนีบูรณ์ et al. หลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะครูปฐมวัยเพื่อทักษะภาษาไทยให้แก่ผู้เรียน. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 3, n. 3, p. 196-209, nov. 2023. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/2280>. Date accessed: 19 may 2024.
Section
บทความวิชาการ