ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6

THE RELATIONSHIP BETWEEN ACADEMIC LEADERSHIP AND THE COMPETENCIES OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE BUALAI EDUCATIONAL QUALITY DEVELOPMENT CENTER 1, NAKHONRATCHASIMA PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 6

  • รัชนีกร ครองยุติ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย
  • อาทิตย์ ฉัตรชัยพลรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัดศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 รวม 68 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าค่าประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)


ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ทุกด้านมีความสัมพันธ์ทางบวก และมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ยกเว้น ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร กับคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณไม่มีความสัมพันธ์กัน


The purpose of this research was to study the relationship between academic leadership and the competencies of school administrators. The sample group used in this research were school administrators and teachers under the Bua Lai Educational Quality Development Center 1, Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6, totaling 68 people. The instrument used in the study was a questionnaire. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation. and the Pearson Product Moment Correlation Coefficient.          
The results of the study revealed that (1) the academic leadership of school administrators Bua Lai Educational Quality Development Center 1, Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office, Region 6 overall was at a high level. (2) The performance of school administrators. Bua Lai Educational Quality Development Center 1, Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6 overall was at a high level. (3) Correlation coefficient between academic leadership and educational institution administrators' competencies. Under the Bua Lai Educational Quality Development Center 1, Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6, all aspects had a positive relationship. and have a high level of correlation with statistical significance at the .01 level, except for the aspect of curriculum management and morality, ethics and code of conduct are not related.

References

กมลลักษณ์ สิทธิรัตน์ ณ นครพนม. (2558). ปัจจัยพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน. สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

เกรียงไกร แสนสุข. (2564). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ขวัญชนก แซ่โค้ว. (2565).ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการของกลุ่มโรงเรียนเมืองฉะเชิงเทรา 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา.

เชาวลิตย์ ชูจันทร์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิตนิภา เสนาฤทธิ์. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายเกาะช้าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปวริศา มีศรี, โอฬาร กาญจนากาศ. (2563). สมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 8(1). 138 –144.

ปิยพร บุญใบ. (2563). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พงศ์สิริ เกื้อวราห์กุล. (2559).สมรรถนะผู้บริหารกับคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มัลลิกา เชาว์ปัญญเวช. (2556).การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารในโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรังสิต.

วุฒิพงษ์ โรมพันธ์ และศันสนีย์ จะสุวรรณ. (2559). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย การจัดการศึกษาที่ 3 (หงาว-โตนเพชร) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง.วิทยานิพนครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ศิริรัตน์ โนจิตร. (2560). ปัจจัยการดำเนินงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2560). ปฏิรูปการเรียนรู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครูผู้บริหารสถานศึกษาผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : กรมศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน.

เสาวภาพันธ์ ศรีประเสริฐ. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

อนุเทพ กุศลคุ้ม. (2561). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพคุรุสภา ในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ.

เอกชัย มดแสง และธีระพงศ์ บุศรากุล. (2562). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. 7(2). 161-173.

Anderson. C. A. D. (2000). The importance of instructional leadership behavior as Perceived by Middle schoolteacher, middle school Principal, and Educational leadership. Professors Ed.D. Dissertation. Faculty of Graduate School : University of Geogia.

Wildy, H. and Dimmock, C. (1993). Instructional leadership in primary and secondary schools in Western Australia. Journal of Educational Administration. 31(1). 43-56.
Published
2023-09-09
How to Cite
ครองยุติ, รัชนีกร; ฉัตรชัยพลรัตน์, อาทิตย์. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบัวลาย 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 3, n. 3, p. 89-103, sep. 2023. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/2243>. Date accessed: 19 may 2024.
Section
บทความวิจัย