ภาวะผู้นำทางการศึกษากับการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
EDUCATIONAL LEADERSHIP AND DEVELOPMENT IN LINE WITH THE SUFFICIENCY ECONOMY
Abstract
ภาวะผู้นำทางการศึกษากับการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกระบวนการทำงานร่วมกัน และจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความร่วมมือกับบุคคลต่างๆ เช่น นักการศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้กำหนดนโยบายสาธารณะ และสาธารณชน โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนให้มีอุปนิสัยในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง เป้าหมายของการเป็นผู้นำทางการศึกษาคือการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการศึกษาและระบบการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เข้มแข็ง ต่อเนื่อง และยั่งยืน
References
ธนสาร บัลลังก์ปัทมา. (2550). การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2564. จาก https://bit.ly/3Cz4Ta2
ปรเมธ สมบูรณ์. (2561). การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาโดยการเทียบเคียงสมรรถนะ. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พระครูปลัดธรรมจริยวัฒน์. (2558). ภาวะผู้นำ หลักธรรม และกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2560). เศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2564. จาก https://bit.ly/3lLs9vV
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎีและนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์.
สุภัชชา พันเลิศ. (2557). การพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2564. จาก https://bit.ly/3m0fnst
เอ็นเทรนนิ่ง. (2561). การพัฒนาภาวะความเป็นผู้นำในตัวคุณให้แข็งแกร่ง. สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2564. จาก https://bit.ly/2XTB3yh
Lynch, M. (2020). What makes a great educational leader?. Retrieved September 24, 2021. From https://bit.ly/3ELcRPh
Top Education Degrees Website. (2021). What is educational leadership?. Retrieved September 24, 2021. From https://bit.ly/3EQp0lM
Ward, S. (2020). What is leadership?. Retrieved September 24, 2021. From https://bit.ly/3kBXd0D