ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  • นนนุชนาถ กระแสโท คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Abstract

            การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันและศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุนคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แนวทางการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา


           ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุนคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้แก่ 1)เป็นปัญหาจากการทำงาน 2)ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 3)ลักษณะของงานที่รับผิดชอบ 4)ความมั่นคงในงาน 5)นโยบาย/การสนับสนุนของหน่วยงาน 6)ความรู้ความสามารถในการทำวิจัยสถาบัน 7)ความพึงพอใจต่อบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำวิจัย 8)พัฒนาศักยภาพตนเอง 9)พัฒนางาน 10)ตระหนักว่าเป็นภาระหน้าที่ 11)การได้รับการยอมรับ และ 12)ความท้าทาย  2. ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการทำวิจัยสถาบัน ได้แก่ 1)ด้านงบประมาณ 2)ด้านทักษะความรู้ของนักวิจัย 3)ด้านการเก็บข้อมูล 4)ด้านความเกียจคร้านส่วนบุคคล 5)ด้านการคิดหัวข้อวิจัย และ 6)ด้านภาระงานประจำ

References

ขวัญนคร สอนหมั่น. (2563). ปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาด้านการวิจัยของคณาจารย์กรณีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัย สถาบัน มข. 1(1). 102-111.

งานยุทธศาสตร์ กองบริหารงานคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2563). แผนยุทธศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4 ปี พ.ศ. 2564-2567. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จิรารัตน์ ภูสีฤทธิ์, สีดา สอนศรี และยุพา คลังสุวรรณ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยของบุคลากรสายสนับสนุนระดับพนักงานปฏิบัติการ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 34(3). 31–35.

ทรงธรรม ธีระกุล และคณะ. (2558). แนวคิดและแนวทางจากประสบการณ์ในการทำวิจัยสถาบัน. สงขลา : หน่วยวิจัยสถาบันบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.

นพวรรณ รื่นแสง และคณะ. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานวิจัยของบุคลากรสาย สนับสนุนของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ.

วรรณพันธุ์ อ่อนแย้ม. (ม.ป.ป.). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยจากงานประจำ. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล.

วัฒนา พัดเกตุ. (2555). การศึกษาเจตคติในการทำวิจัย และปัญหาและอุปสรรคในการทำวิจัยของอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564. จาก http:// www.human.nu.ac.th/jhnu/journal_detail.php?a_id=121&v_id=3

สุรชัย เกตุนิล. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

Maslow, A. H. (1970). Motivation and Personality. New York : Harpers and Row.
Published
2021-12-08
How to Cite
กระแสโท, นนนุชนาถ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 1, n. 3, p. 43-53, dec. 2021. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/1776>. Date accessed: 19 may 2024.
Section
บทความวิจัย