บทบาทผู้นำในการพัฒนาองค์การ

  • สมบูรณ์ โตจิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Abstract

            ผู้นำเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ โดยผู้นำจะต้องมีภาวะผู้นำในการพัฒนาองค์การนั้นประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมาย บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงบทบาทของผู้นำในการพัฒนาองค์การผลการศึกษา พบว่ามี 3 บทบาท คือ 1)บทบาทความเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้2)บทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง และ 3)บทบาทการเป็นผู้นำความทันสมัย ผู้นำมีบทบาทสำคัญต่อการใช้องค์ความรู้ในศาสตร์สำหรับการปรับปรุงกระบวนการทำงานขององค์การภายใต้สภาวะการเปลี่ยนแปลงในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สถานการณ์ เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาและแนวทางการแก้ไข นอกจากนี้ผู้นำควรมีภาวะผู้นำและเข้าใจวัฒนธรรมองค์การเพื่อให้การดำเนินการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และบรรลุเป้าหมายขององค์การ

References

กนกพร อินตาวงค์. (2564). ภาวะผู้นำใฝ่บริการ: ความหมาย ความสัมพันธ์และการนำไปปรับใช้ในองค์การ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน. 2(1). 31-38.

กมล อดุลพันธุ์. (2527). หลักการบริหารการพัฒนาและนักบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

กมลชนก ชมภูพันธุ์. (2564). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมในธุรกิจยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. 5(1). 148-155.

จิตติมา อัครธิติพงศ์. (2557). การพัฒนาองค์การ. พระนครศรีอยุธยา : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

จิระพงค์ เรืองกุน. (2556). การเปลี่ยนแปลงองค์การ: แนวคิด กระบวนการ และบทบาทของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 5(1). 194-203.

เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏิ์. (2553). การพัฒนาองค์การกับการพัฒนาคนให้เข้าสู่ยุค. For Quality. 16(147). 103-106.

วีรวิชญ์ปิยนนทศิลป์. (2560). การพัฒนาองค์การ: แนวคิด กระบวนการ และบทบาทของนักบริหารการพัฒนาองค์การ. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 6(2). 199-209.

สุรีย์ภรณ์ ทรรศนียากร. (2541). ภาวะผู้นำกับวิวัฒนาการขององค์การ: กรณีศึกษาโรงเรียนสหศาสตร์ศึกษา อำเภอเมืองเชียงราย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เสนาะ ติเยาว์. (2535). ทฤษฎีองค์กรประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกสิทธิ์ สนามทอง และคณะ. (2562). การพัฒนาองค์การ : ความแข็งแกร่งทางการแข่งขันในเชิงธุรกิจ. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. 16(2). 1-18.

Cabeza-Erikson, I., Edwards, K., & Van Brabant, T. (2008). Development of leadership capacities as a strategic factor for sustainability. Karlskrona : Blekinge Tekniska Hoogskola.

Cummings, T. G. & Worley, C. G. (2005). Organization Development and Change. Ohio : Thomson South-Western.

Hao, M. R.&Yazdanifard, R. (2015). How Effective Leadership can Facilitate Change in Organizations through Improvement and Innovation. Global Journal of Management and Business Research: A Administration and Management. 15(9). 1-5.

Kozioł-Nadolna, K. (2020). The Role of a Leader in Stimulating Innovation inan Organization. Administrative Sciences. 10(59). 1-18.

Krishnan, V.R. (2005). Leader-Member Exchange, Transformational Leadership, and Value System. Electronic Journal of Business Ethics and Organization Studies. 10(1). 14-21.

McLean, G. N. (2006). Organization Development: Principles Processes Performance. San Francisco : Berrett-Koehler.

Monavariyan,A.&Farmani,G. (2012). Human Resource Management and Organization Development in Knowledge-Based Era. Global Journal of Management and Business Research. 12(7). 9-16.

Moorheard, G.& Griffin, R. (2008). Managing Organizational Behavior. 10th ed. Australia : Cengage Learning.
Rothwell, W. J., & Sullivan, R.(2005). Organization Development. California : John Wiley & Sons.

Setiawan, R. (2020). Leaders' Perspective on Leader Member Exchange: A Conceptual Review. Systematic Reviews in Pharmacy. 11(12). 1558-1563.
Published
2021-12-08
How to Cite
โตจิตร, สมบูรณ์. บทบาทผู้นำในการพัฒนาองค์การ. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, [S.l.], v. 1, n. 3, p. 62-70, dec. 2021. ISSN 2730-4132. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/RJGE/article/view/1723>. Date accessed: 12 dec. 2024.
Section
บทความวิชาการ