การปฏิบัติสมถกัมมัฏฐานในกายานุปัสสนา
PRACTICE OF SAMATHA MEDITATION OF KAYANUPASSANA
Abstract
การปฏิบัติสมถกรรมฐานในกายานุปัสสสนา เป็นการกำหนดให้สติสัมปชัญญะไปตามอาการของกายที่ทำให้เกิดเป็นอารมณ์เดียว เพื่อให้สติตั้งมั่นหรือการเพ่งเข้าไปในอิริยาบถ ธาตุ อาการทั้ง 32 ซึ่งเป็นวิธีฝึกจิตให้เป็นสมาธิอย่างแน่วแน่ในพระพุทธศาสนา ซึ่งการปฏิบัติสมถกัมมัฏฐานในกายานุปัสสนา โดยหลักใหญ่แล้วหมายถึง กาย คือ พิจารณาเห็นกายในกาย โดยมีสติสัมปชัญญะ เพื่อกำจัดอภิชฌาและโทมนัส เพื่อการดับทุกข์ เห็นแจ้งพระนิพาน อันเป็นไปความมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักการและวิธีการปฏิบัติเพื่อความดับทุกข์
References
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.9). (2549). คำถาม-คำตอบ เรื่องวิปัสสนากรรมฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระปลัดวิสุทธิ์ คุตฺตชโย. (2540). คู่มือการเรียนการสอนปริจเฉทที่ 8, 9 (ชั้นมัชฌิมอาภิธรรมมิกะโท). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จันทร์เพ็ญ.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2527). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อมรินทร์การพิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2500). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฎกํ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์. (2505). พุทธวิปัสสนา. พระนคร : รัชดารมณ์การพิมพ์.