การใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ในคัมภีร์กถาวัตถุ

ANALYTICAL REASONING IN KATHĀVATTHU

  • พระมหาใจสิงห์ เถื่อนศรี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • ธีรภัทร์ ถิ่นแสนดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

Abstract

การใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ในคัมภีร์กถาวัตถุนั้นชัดเจนว่าเป็นเรื่องของการตรวจสอบความถูกต้องและความผิดพลาดของความรู้เช่นเดียวกับวัตถุประสงค์ของหลักมหาประเทศพิจารณาจากนี้เครื่องมือในการตรวจสอบถูกต้องและความผิดพลาดของความรู้ที่สามารถทำหน้าที่ในการตอบข้อเรียกร้องดังกล่าวนี้ได้อย่างตรงจุดจุดประสงค์มากที่สุดก็คือเกณฑ์ในการใช้เหตุผลแบบนิรนัย การอ้างเหตุผลเพื่อตรวจสอบความรู้จะต้องประกอบด้วยข้อความสองส่วนอันได้แก่ 1. ข้อความส่วนที่เป็นเหตุผลหรือข้อความที่ใช้ในการสนับสนุนข้อสรุป ภาษาตรรกวิทยาเรียกข้อความส่วนนี้ว่า “ข้ออ้าง” 2. ข้อความส่วนที่เป็นการสรุปหรือข้อความที่ได้รับสนันสนุนข้ออ้าง ภาษาตรรกวิทยาเรียกข้อความส่วนนี้ว่า “ข้อสรุป” ความสมเหตุสมผลของการใช้เหตุผลหรืออ้างเหตุผลเพื่อตรวจสอบความรู้นั้นเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างข้ออ้างกับข้อสรุปในลักษณะที่ว่า ความจริงของข้ออ้างเป็นตัวกำหนดความจริงของข้อสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างข้ออ้างสรุปของการอ้างเหตุผลที่ใช้กันในวงการตรรกวิทยาจะต้องอยู่ในรูปแบบของการอ้างเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งในระหว่างสองอย่างนี้

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549). ลายแทงนักคิด. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.

คณะผู้สอนวิชาการใช้เหตุผล ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์. (2550). การใช้เหตุผล : ตรรกวิทยาเชิงปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2538). ตรรกศาสตร์ ศิลปะแห่งการนิยามความหมายและการให้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สิทธิ์ บุตรอินทร์. (2522). ตรรกศาสตร์วิชาการใช้เหตุผล. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระยาไพศาลศิลปะสารท. (2543). ตรรกวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2544). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สายส่งศึกษิต บริษัทเคล็ดไทยจำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2500). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฎกํ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วศิน อินทสระ. (2548). ตรรกศาสตร์พุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธรรมดา.

สมัคร บุราวาส. (2525). ปัญญาวิวัฒน์ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แพร่พิทยา.

เอ็ม.เจ. ฮาร์มอน. (2515). ความคิดทางการเมืองจากเปลโตถึงปัจจุบัน แปลโดย เสน่ห์ จามริก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอ็ม.เจ. ฮาร์มอน. (2522). ความคิดทางการเมืองจากเปลโตถึงปัจจุบัน แปลโดย เสน่ห์ จามริก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Hamel, G. and Prahalad, C.K. (2005). Strategy Intent. Havard Business Review. 83(7). 148-161.

Wootton, S. and Horne, T. (2001). Strategic Thinking: a Step-by-Step Approach to Strategy. London : Kogan Page.
Published
2024-11-04
How to Cite
เถื่อนศรี, พระมหาใจสิงห์; ถิ่นแสนดี, ธีรภัทร์. การใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ในคัมภีร์กถาวัตถุ. วารสารรัฐศาสตร์สาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย(Online), [S.l.], v. 3, n. 2, p. 1-14, nov. 2024. ISSN 2774-1001. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/MBUPJ/article/view/2685>. Date accessed: 28 jan. 2025.