การเสริมพลังอำนาจกับการจัดบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

Empowerment and Public Health Service Management of Tambon Health Promoting Hospital

  • เวชสุวรรณ อาจวิชัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด
  • พร้อมวิชญ์ อัศวกฤษนาวิน มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น์
  • รณชิต พุทธลา มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาสินธุ์

Abstract

            การศึกษาการเสริมพลังอำนาจกับการจัดบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พบว่า ตัวแปรองค์ประกอบของพลังอำนาจชุมชนและพลังอำนาจองค์การ ซึ่งทุกตัวแปรองค์ประกอบที่ผู้วิจัยได้ศึกษาและพัฒนาขึ้นสามารถร่วมกันอธิบายผลการจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทยได้อย่างถูกต้อง ส่วนการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์เพื่อตรวจสอบรูปแบบตามสมมติฐานสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่ามีความสอดคล้องกลมกลืนกันตามสมมติฐานการวิจัย เป็นไปตามเกณฑ์ค่าดัชนีที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถร่วมกันอธิบายตัวแปรการบริการสาธารณสุข โดยมีตัวแปรพลังอำนาจชุมชนและตัวแปรพลังอำนาจองค์การเป็นตัวแปรเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการจัดบริการสาธารณสุขของประเทศไทย ผลจากการวิจัยดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าแนวทางการบริการสาธารณสุขของประเทศไทยที่เหมาะสม ควรให้มีการดำเนินกิจกรรมให้สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น ส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถเข้าถึงระบบบริการของรัฐและการจัดบริการสาธารณสุขได้ด้วยตนเอง เปิดกว้างต่อสาธารณะให้องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน เข้ามีส่วนร่วมในการดำเนินการตามศักยภาพของแต่ละองค์การเพื่อรองรับแนวนโยบายใหม่ๆ ให้มีความสอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ส่งเสริมให้มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและได้มาตรฐานมาให้บริการอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องมีแนวทางการดำเนินงานที่มุ่งเน้นการเข้ามีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในแบบพหุภาคี ภายใต้ระบบเครือข่าย การบริการสาธารณสุขทั้งในระดับพื้นที่และนอกพื้นที่เชื่อมโยงกับระดับชาติและนานาชาติ

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2545). แผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 9 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

กระทรวงสาธารณสุข. (2555). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2556-2565 (ฉบับร่าง). กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

กฤษณชัย กิมชัย. (2551). อาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติและบทบาท อสม.ยุคใหม่. วารสารวิชาการสุขภาพภาคประชาชน ภาคอีสาน. 23(4). 19-37.

กิตติพงศ์ อุบลสะอาด และคณะ. (2551). การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 17(1). 25-29.

โกวิทย์ พวงงาม. (2542). การปกครองท้องถิ่นไทย: หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์.

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ และคณะ. (2548). การขับเคลื่อนการถ่ายโอนภารกิจในอนาคต: โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำร่างแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : เจริญผล.

บูรณ์ ไสยสมบัติ. (2557). การจัดบริการสาธารณสุขยุคใหม่.วารสารวิชาการสุขภาพภาคประชาชน ภาคอีสาน. 23(4). 44-49.

ไพโรจน์ ภัทรนรากุล. (2550). การจัดการภาครัฐกับการเสริมพลังประชาชน. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์. (2549). จากเศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาพพอเพียง. นนทบุรี : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.

สมชาย สุขสิริเสรีกุล. (2544). ความเป็นธรรมในการจัดระบบบริการสุขภาพ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.

สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ. (2554). การสาธารณสุขไทย 2551-2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

Cattaneo, L., Chapman, A. (2009). The process of empowerment: A model for use in research and practice. American Psychologist. 65(7). 646-659.

Donaldson, L. (1993). Organization empowerment. New York : McGraw-Hill Book Company.

Herrenkohl, Judson & Heffner. (2005). Defining and Measuring Employee empowerment. The Journal of Applied Behavioral Science. 35(3). 373-389.

Kanter, R. (1997). Men and Women of the Corporation. New York : Basic Books.

Keiffer, C. (1984). Citizen Empowerment: A Development Perspective. Prevention in Human Services. 3(March 1984). 9-36.

Megandaru, W. (2014). The role of OMS in community empowerment of rehabilitation and reconstruction program in brbah and prambanan sub-districts. Journal of Alternative Perspectives in the social sciences. 5(4). 624-653.

Peggy, A.H. (2009). Public Health Financial Management Competencies. Public Health Management Practice. 5(4). 311-318.

Russell, A. & Matthews, L. (2003). The Organizational Empowerment Scale. Texas Christin University : Fort Worth, Texas, USA.

Siegall, M. & Gardner, S. (2010). Contextual factors of psychological empowerment. Personnel Review. 29(6). 703-722.

Thomas & Velthouse. (2011). Cognitive elements of empowerment: An ‘interpretive’ model of intrinsic task motivation. Academy of Management Review. 15(4). 666-681.

Yalanda, S.B. (2005). Empowerment and Participatory Evaluation of Community Health Intervention: Implications for Occupational Therapy. Department of occupational Therapy, College of Applied Health Science, University of Illinoise at Chacago, Chicago, Illinose.
Published
2022-07-15
How to Cite
อาจวิชัย, เวชสุวรรณ; อัศวกฤษนาวิน, พร้อมวิชญ์; พุทธลา, รณชิต. การเสริมพลังอำนาจกับการจัดบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. วารสารรัฐศาสตร์สาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย(Online), [S.l.], v. 1, n. 2, p. 1-15, july 2022. ISSN 2774-1001. Available at: <http://ojs.mbu.ac.th/index.php/MBUPJ/article/view/1948>. Date accessed: 15 jan. 2025.
Section
Research Article