TY - JOUR AU - เขียวสอาด, วิชญ์วิสิฐ PY - 2019 TI - การพัฒนารูปแบบการสอนเรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education ในรายวิชาภาษาซี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ของนักเรีย JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 7 No 1 (2019): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2562) KW - N2 - การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาค่าดัชนีประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนเรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education ในรายวิชาภาษาซี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปราจิณราษฏรอำรุง จังหวัดปราจีนบุรี ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยเรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education ในรายวิชาภาษาซี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปราจิณราษฏรอำรุง จังหวัดปราจีนบุรี 3. เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนในการใช้ชุดฝึกทักษะที่สร้างขึ้น ของเรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education ในรายวิชาภาษาซี ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปราจิณราษฏรอำรุง จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80  โดยใช้วิธีแบบเฉพาะเจาะจง ได้จัดนักเรียนแต่ละกลุ่มคละความสามารถ คือ จัดนักเรียนออกเป็น เก่ง ปานกลาง อ่อน ในอัตราส่วนที่เท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้  ได้แก่  (1) ชุดฝึกทักษะ  เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education จำนวน 6  เล่ม  (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน ชนิดเลือกตอบ  4  ตัวเลือก จำนวน  30 ข้อ  และ(3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ    ชุดฝึกทักษะ เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)  5  ระดับ  จำนวน 1 ชุด จำนวน20  ข้อ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ( )  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)  และการทดสอบค่าที (t-test for dependent) ผลการวิจัย ชุดฝึกทักษะ เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับ รูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education มีประสิทธิภาพ 86.25/88.83 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนดไว้ (2)  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยชุดฝึกทักษะ เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3)  นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดฝึกทักษะ เรื่องการเขียนโปรแกรมภาษาซี โดยใช้เทคโนโลยีโปรแกรม Class start ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนผ่านกระบวนการ STEM Education อยู่ในระดับมากที่สุด The purpose of this study was to develop and validate the performance index of the C programming language by using the Class program. Start integrates with STEM learning style Education in the C language according to learning standards and metrics. Vocational and Technical Education (Computer) Based on 80/80 2 to compare learning achievement of learners before and after learning with C programming by using Class start technology. Combined with STEM learning model Education in the C language. 3 to find the learner's satisfaction in using the skill set created by the C programming language using the Class program technology. Start incorporates STEM Education through the STEM Education curriculum. The target group is 80/80 effective. In this study, the students' Class start technology is integrated with the STEM process. 6 copies of the test; (2) pre-test and post-test achievement test; (4) 30 choice tests; and (3) student satisfaction questionnaire. Using Class technology STEM Education is a 5-level scale rating scale questionnaire consisting of 1 set of 20 The statistics used for data analysis were the mean ( ), standard deviation (S.D.) and t-test for dependent.                Research result                (1) Skill training C programming using the Class start technology combined with the learning style through the STEM Education process has a performance of 86.25 / 88.83, which meets the 80/80 standard set. (2) Students have higher learning achievement than before learning by using C programming language. Using the Class start technology combined with the STEM Education learning model was statistically significant at the .05 level. (3) Students were satisfied with the C programming language skill set using the Class Program technology. start integrates with STEM learning style Education is at the highest level. UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/268