TY - JOUR AU - ลวงสวาส, วราภรณ์ AU - ธีระวณิชตระกูล, สฎายุ AU - รักงาม, ชัยพจน์ PY - 2018 TI - ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 6 No 1 (2018): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) KW - N2 - บทคัดย่อ              การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย มีอำนาจจำแนกรายข้อระหว่าง .49-.95 และค่าความเชื่อมั่น .93 และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป หาค่าเฉลี่ย  ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณและสร้างสมการถดถอยเพื่อพยากรณ์ตัวแปรตามโดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis)              ผลการวิจัย พบว่า              1)  ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1โดยรวมพบว่า อยู่ในระดับ มาก              2)  ปัจจัยแต่ละด้านมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทุกตัว              3) ปัจจัยที่เป็นตัวพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน มี 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านผู้บริหาร (X 1 )  ปัจจัยด้านผู้เรียน (X 2 ) ปัจจัยด้านครู (X 3 ) และปัจจัยด้านผู้ปกครอง (X 4 )  โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ ร้อยละ 69.40  มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีอำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 48.10 โดยสามารถสร้างเป็นสมการพยากรณ์ในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้            Y = (-6.389) + 4.538(X 1 ) + 2.888(X 3 ) + 3.367(X 2 ) + 2.262(X 4 )            Z = 0.329(X 1 ) + 0.166(X 3 ) + 0.224(X 2 ) + 0.195(X 4 ) Abstract              This research aimed to study the factors affecting student’s achievement under the Office of Rayong Primary Educational Service Area 1. The samples used in this study were the teachers composed of 317 teachers. The research instrument employed for the data collection was a set of rating-scale questionnaires. The questionnaire of the administrative factors of schools of discriminative power value was between .49 and .95 and reliability value was.93. Data was analyzed by using a computer program for calculating the mean ( ), standard deviation ( SD ), Pearson Product-Moment Correlation Coefficient, and Stepwise multiple regression analysis. The regression equations for predicting the dependent variables were created by using stepwise multiple regression analysis method.              The results of the study were as follows:              1) The factors affecting students achievement under the Office of Rayong Primary Educational Service Area 1.was found at high level.              2)   Each factor correlated with achievement. At the 0.01 level              3) The predictors of student achievement are four factors : including management factor (X 1 ), student factor (X 2 ), teacher factor (X 3 ) and parental factors (X 4 ) which multiple correlation coefficient was found at 69.40% with statistically significant at level of .05. The regression coefficient predictive competence was found at 48.10. These could be formed as the regression equations of raw score and standardized score as follows:            Y = (-6.389) + 4.538(X 1 ) + 2.888(X 3 ) + 3.367(X 2 ) + 2.262(X 4 )            Z = 0.329(X 1 ) + 0.166(X 3 ) + 0.224(X 2 ) + 0.195(X 4 ) UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/226