TY - JOUR AU - ประทุมชาติ, พระมหาบุญนา ฐานวีโร PY - 2018/08/10 TI - การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ : กรณีศึกษานักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 6 No 1 (2018): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) KW - N2 - บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)  เพื่อศึกษาความพึงพอใจผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้ ใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์  สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ   ชั้นปีที่ 1-4  จำนวน 150 รูป/คน โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ 4 ด้าน คือ ทักษะด้านการฟัง  ทักษะด้านการพูด  ทักษะด้านการอ่าน ทักษะด้านการเขียน  สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนสาขาการสอนภาษาอังกฤษ ในรายวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง โดยภาพรวมในด้านการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 S.D.  .412 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านนักศึกษามีความพึ่งพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านทักษะการเขียน  ด้านทักษะการฟัง  ด้านทักษะการอ่าน และด้านทักษะการพูด ส่วนการเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาการสอนภาษาอังกฤษ ในรายวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง ในภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 ซี่งอยู่ในระดับที่มาก Abstract The purposes of this study were : 1) to study the satisfaction with the achievement in English subject of students in faculty of Education and, 2) to comparative the satisfaction with the achievement in English subject of students in faculty of Education. A sample was selected from the Education students with English subject who registration in 1 st – 4 th years of English subject total 150 persons. The instrument used in this study was questionnaires about the satisfaction with the achievement in English subject of Faculty of Education into 4 aspect: listening skills, speaking skills, reading skills, writing skills. The statistics used in the analysis was the mean, percentage and standard deviation. The results indicated that the students were registration in English subject of Teaching English, Faculty of Education Mahamakut Buddhist University in overall of practicing was many level at mean 4.09, at standard deviation .412. When considering in each aspect, it was found that in the overall was at the high level by the average namely: listening skills, speaking skills, reading skills, writing skills. To comparative the satisfaction of students in English subject of Teaching English, Faculty of Education Mahamakut Buddhist University in overall and aspect was mean at 4.09 at the high level. UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/222