TY - JOUR AU - ศรีนนท์, มนัสวี PY - 2018 TI - ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 6 No 1 (2018): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) KW - N2 - บทคัดย่อ บทความเรื่องนี้สรุปได้ว่า การวิเคราะห์ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิดนี้เป็นการวิเคราะห์ความแตกต่างที่มีอยู่ในคนและสังคม โดยพบว่า 1. ทฤษฏีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด ระดับมูลฐาน ได้แก่ ความสัมพันธ์กันระหว่างทฤษฎีเจเนอเรชัน กลุ่มที่ 1 คือ ไซเลนต์เจเนอเรชัน และกลุ่มที่ 2 คือ เจเนอเรชั่นบี กับกระบวนทรรศน์ที่ 1 คือ ดึกดำบรรพ์ และกระบวนทรรรศน์ที่ 2 คือ ยุคโบราณ 2. ทฤษฏีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด ระดับกลาง ได้แก่ ความสัมพันธ์กันระหว่างทฤษฎีเจเนอเรชัน กลุ่มที่ 3 คือ เจเนอเรชันเอกซ์ และกลุ่มที่ 4 คือ เจเนอเรชันวาย กับกระบวนทรรศน์ที่ 3 คือ ยุคกลาง และกระบวนทรรรศน์ที่ 4 คือ นวยุค 3. ทฤษฏีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด ระดับสูง ได้แก่ ความสัมพันธ์กันระหว่างทฤษฎีเจเนอเรชัน กลุ่มที่ 5 คือ เจเนอเรชั่นแซด กับกระบวนทรรศน์ที่ 5 คือ หลังนวยุค ABSTRACT This article concludes that to analyze the theory of generation and cognitive framework will be analyze the difference of human and society was found that 1) the theory of generation and cognitive framework base on the relationship between the theory of generation group 1 such as silent generation and group 2 such as B generation with paradigm no.1 was prehistory and the paradigm no.2 was ancient. 2) the theory of generation and cognitive framework in middle way such as the relationship between the theory of generation group 3 such as X generation and group 4 such as Y generation with paradigm no.3 was medieval ages and the paradigm no.4 was new generation. 3) the theory of generation and cognitive framework in high level such as the relationship between the theory of generation group 5 such as Z generation with paradigm no.5 was after modern generation.  UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/192