TY - JOUR AU - ธรรมบุตร, บัญชา PY - 2017 TI - การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯระหว่างกลุ่มที่สอนแบบ SQ3R และกลุ่มที่สอนแบบปกติ JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 5 No 2 (2017): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) KW - N2 - การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ ระหว่างกลุ่มที่สอนแบบ SQ3R และกลุ่มที่สอนแบบปกติ (2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย ก่อนและหลังเรียนด้วยการสอนแบบ SQ3R ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ (3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย ก่อนและหลังเรียนด้วยการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 2 ห้อง รวมทั้งสิ้น  30 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ด้วยวิธีจับฉลากเพื่อจัดเป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย สื่ออ่านและแผนการจัดการเรียนรู้ด้านการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีสอนแบบ SQ3R และวิธีสอนแบบปกติ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความซึ่งใช้บทความ โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญและหาค่าดัชนีความสอดคล้อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าที แบบ Dependent และ Independent              ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความสามารถในการอ่านจับใจความหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ ระหว่างกลุ่มที่สอนด้วยวิธีแบบ SQ3R มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนกลุ่มที่สอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มที่สอนแบบ SQ3R มีค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดปทุมวนาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มที่สอนแบบปกติ มีค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ABSTRACT                  This research aims to Compare of Thai Reading Comprehension between the groups taught SQ3R and the group taught the normal. 2 Comparative Study of Thai Reading Comprehension before and after learning with SQ3R of primary school grade 4 Watpatumvanaram school  under the patronage of the king (3) to compare the ability to read the Thai language. Before and After classes with Regular Teaching of primary school grade 4 watpatumvanaram school  under the patronage of the king The samples used in this study were primary school of watpatumvanaram school grade 4 under the patronage of the king 1st semester of academic year 2015 two classes total 30 person This is get from a simple sampling method.by random method To be an experimental group. 1 classes total 15 person and control group 1classes total 15 person Research tools include Reading Media and Management Plans Reading comprehension using the teaching  SQ3R method. and  Normal teaching method Test of Ability Reading, which uses the article. Through expert verification and consistency index  Data were analyzed using mean, standard deviation, t-test, Dependent and Independent.                    The results of research (1) Learning Achievement in Reading Ability after learning of between groups taught by the SQ3R method. Average grade point average was higher than average. Statistically significant at the .05 level. (2) Learning Achievement in Reading Comprehension of group taught by SQ3R Average score after grade is higher than study. Average grade before class At the .01 level of significance (3) Learning Achievement in Reading Comprehension .of  primary school grade 4 watpatumvanaram school  under the patronage of the king Group taught Average score after grade is higher than average before grade. Statistically significant at the .05 level. UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/173