TY - JOUR AU - คำงาม, พระมหาพิเชษฐ์ PY - 2017 TI - การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดโสมนัส โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ Co-Op Co-Op และวิธีสอนแบบปกติ JF - วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร; Vol 5 No 2 (2017): วารสารศึกษาศาสตร์ มมร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) KW - N2 - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ ระหว่างการเรียนแบบร่วมมือ Co-Op Co-Op และการเรียนแบบปกติ 2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ Co-Op Co-Op ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ โดยใช้วิธีสอนแบบปกติ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดโสมนัส ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 5 ชนิด คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่าน จับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้วิธีฝึกประกอบกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ Co-Op Co-Op จำนวน 5 แผน 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 แผน  3) แบบการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 ชุด 4) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ Co-Op Co-Op ซึ่งเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ 5) แบบทดสอบถามวัดความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการใช้แบบทดสอบประกอบกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ Co-Op Co-Op และกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 15 ข้อ ผลวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการอ่าน จับใจความของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือ Co-Op Co-Op สูงกว่าวิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการอ่าน จับใจความของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือ Co-op Co-op หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความสามารถในการอ่าน จับใจความของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ABSTRACT This research aims to: 1) compare the ability of main point reading comprehension. Primary school grade Five Students at WatSommanut School. Between cooperative learning And normal learning 2) to compare the ability of main point reading comprehension of primary school grade Five Students at WatSommanut School Use cooperative teaching methods Between before and after classes 3) to compare the ability of main point reading comprehension. Primary school grade Five Students at WatSommanut School. Use normal teaching methods. Between before and after classes. The samples were primary school grade Five Students at WatSommanut School 1 st semester, the academic year 2015 two classrooms 30 people of each total 60 people from Simple random sampling. Five types of research tools. 1. Learning Management Plan main point Reading comprehension use cooperative learning activities 2. Plan for nomal learning management s 3. Main point Reading comprehension 4. Test of main point reading comprehension skills use cooperative learning activities. A multiple choice test. Choice 3 options 20 questions 5. Quiz question Satisfaction measure of Students' perceptions of cooperative learning activities. And regular learning activities. The research found that.  1) Ability of student to main point reading. Teaching by cooperative learning. There was a statistically significant difference at the .05 level. 2) Ability of student to main point reading. Teaching by cooperative learning after the study, the statistical significance at .05 level 3) Ability of student to main point reading. Teaching by Normal teaching After the study, the statistical significance at .05 level.   UR - http://ojs.mbu.ac.th/index.php/edj/article/view/163